Sorting:
Sort Ascending
  • Fair Share for Health and Care: Gender and the Undervaluation of Health and Care Work

    รายงาน “Fair Share for Health and Care: Gender and the Undervaluation of Health and Care Work” เสนอผลการศึกษาว่าการลงทุนอย่างเท่าเทียมกันระหว่างเพศในด้านสุขภาพและงานดูแล (care work) สามารถช่วยยอมรับคุณค่าของงานเหล่านี้ได้อย่างเต็มที่ ส่งเสริมเศรษฐกิจที่ยุติธรรมและครอบคลุมมากขึ้น ตลอดจนทำให้คนทุกเพศสภาพมีผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดีขึ้น โดยการลงทุนในระบบสุขภาพและการดูแลไม่เพียงแต่เร่งความก้าวหน้าสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Health Coverage: UHC) เท่านั้น แต่ยังช่วยกระจายภาระงานด้านสุขภาพและการดูแลที่ไม่ได้รับค่าตอบแทนด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Report of the Global Conference on Primary Health Care: From Alma-Ata Towards Universal Health Coverage and the Sustainable Development Goals […]

  • The State of Food and Agriculture 2020

    Overcoming water challenges in agriculture รายงานสถานการณ์อาหารและเกษตรกรรมปี 2563 ประเมินการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ทำชลประทานและในพื้นที่เกษตรกรรมที่ต้องพึ่งพาน้ำฝน รวมทั้งประเมินผลกระทบที่มีต่อเกษตกรรายย่อยและประชาชน โดยมีข้อมูลและหลักฐานความแตกต่างตามบริบทของแต่ละประเทศ เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ มีข้อมูลที่เพียงพอประกอบการจัดทำนโยบาย/มาตรการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำสำหรับภาคเกษตรกรรม โดยที่ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งน้ำสำหรับการอุปโภคและบริโภคได้อย่างเสมอภาคและยั่งยืน หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The State of Food and Agriculture 2019 The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021 Global Report on Food Crises 2020

  • Joint external evaluation of IHR core capacities of Georgia

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of Georgia” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของประเทศจอร์เจีย ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap for Georgia Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Lithuania Joint External Evaluation of IHR […]

  • Climate Resilient Practices – Typology and Guiding Material for Climate Risk Screening

    การมีภูมิต้านทานตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate resilience) เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ รายงานฉบับนี้หยิบยกตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดีของภาคเกษตร ที่หมายรวมถึงพืชผล การปศุสัตว์ การป่าไม้ และการประมง ว่าจะสามารถเสริมขีดความสามารถและเตรียมพร้อมระบบเกษตรกรรมให้สามารถปรับตัวและฟื้นกลับจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ผู้อ่านสามารถนำรายงานฉบับนี้ไปใช้เป็นข้อมูลประกอบ หรือเป็นแนวทางในการระบุชี้/ตรวจสอบความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศตั้งแต่ตอนต้นของการออกแบบและการผลักดันโครงการที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: วิกฤติสภาพภูมิอากาศ คือวิกฤติสิทธิเด็ก: ดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก (The Climate Crisis is a Child Rights Crisis: Children’s Climate Risk Index) SDG Good Practices: A Compilation of Success Stories and Lessons Learned in SDG Implementation – Second Edition 2030 Recommendations of the […]

  • SWU Sustainable Development Goals Report 2021

    รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปี พ.ศ.​ 2564   หน่วยงานที่จัดทำ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: SWU Sustainable Development Goals Report 2018 SWU Sustainable Development Goals Report 2019 SWU Sustainable Development Goals Report 2020 Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being […]

  • รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2566

    “รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2566” เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นรายปี รวบรวมประเด็นสำคัญทางสุขภาพและสังคมของปีนั้น ๆ เพื่อเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการสร้างการเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต ฉบับปีนี้นำเสนอ 10 ตัวชี้วัดทางสุขภาพ 12 สถานการณ์สำคัญทางสุขภาพ 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย ภายใต้ธีมหลัก “คำสัญญาของไทยใน “คอป” (COP: Conference of Parties) กับการรับมือ “โลกรวน”   หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2564 รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2565 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2566 การประกันภัยที่ทุกคนเข้าถึงได้และการเงิน เพื่อการบริหารความเสี่ยงในประเทศไทย ภาพรวมและทิศทาง พ.ศ. 2566

  • SDG Impact Assessment Tool

    “SDG Impact Assessment Tool” เป็นครื่องมือการประเมิน สำหรับงานวิจัย สถาบันการศึกษา บริษัท ผู้ประกอบการ องค์กรภาคประชาชน และหน่วยงานรัฐ เพื่อระบุผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบของงานที่ทำต่อ SDGs ทั้ง 17 เป้าหมาย ที่สามารถประเมินได้ด้วยตนเอง เครื่องมือนี้จะกระตุ้นให้เกิดการไตร่ตรองและการเรียนรู้ร่วมกันในประเด็น SDGs และการเชื่อมโยงระหว่างแต่ละเป้าหมาย ใช้งานได้ฟรีในรูปแบบออนไลน์     หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษและลงทะเบียนและเข้าใช้งานได้ ที่นี่ Related posts: International Health Regulations (2005): Guidance Document for the State Party Self-assessment Annual Reporting Tool International Health Regulations (2005): State Party Self-assessment Annual Report […]

  • Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025

    รายงาน “Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025: Engaging communities to close the evidence gap” แสดงความก้าวหน้าของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยได้นำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก พร้อมเน้นย้ำว่าความคืบหน้าในการบรรลุเป้าหมาย SDGs   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Asia and the Pacific SDG Progress Report 2021 Asia and the Pacific SDG Progress Report 2022 Asia and the Pacific SDG Progress Report 2024 World Happiness […]

  • รายงานความก้าวหน้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทย พ.ศ. 2559-2563 (Thailand’s SDG Report 2016-2020)

    “รายงานความก้าวหน้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทย พ.ศ. 2559-2563” เป็นรายงานประเมินความก้าวหน้าในการดำเนินการเพื่อบรรลุ SDGs ของประเทศไทยในระยะ 5 ปี ฉบับแรก ที่จะแสดงสถานะการพัฒนาของแต่ละเป้าหมายย่อย (targrts) โดยใช้ข้อมูลตัวชี้วัดของสหประชาชาติและยุทธศาสตร์มาเป็นตัวประเมิน    หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2559 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) Global Wage Report 2016/17: Wage inequality in the […]

  • Motivators for Sustainability: 17 Lessons of Sustainable Development Goals in Thailand

    หนังสือ “Motivators for Sustainability: 17 Lessons of Sustainable Development Goals in Thailand” นำเสนอเรื่องราวของนักสร้างการเปลี่ยนแปลงในสังคมทั้งหมด 17 ท่านจากทั่วประเทศในฉบับของตนเอง จนสามารถเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของไทย และเป็นแรงบันดาลใจให้คนอื่น ๆ ลงมือริ่เริ่มสร้างการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ต่อไปได้     หน่วยงานที่จัดทำ: กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับ The Cloud ดาวน์โหลด : เอกสารได้ ที่นี่ Related posts: รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน […]

  • การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ (The Big Conversation: Handbook to Address Violence against Women in and through the Media)

    “การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ” จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับองค์การสหประชาชาติและหน่วยงานอื่น ๆ ที่ทำงานร่วมกับองค์กรสื่อในการใช้สื่อเป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศและป้องกันความรุนแรงที่จะเกิดต่อผู้หญิงและเด็กหญิง ส่งเสริมคุณค่าของความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการไม่เลือกปฏิบัติผ่านการสร้างเนื้อหาที่สื่อผลิตขึ้น   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) และ UN Women ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ และภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: สื่อ “สาร” ให้เข้าถึง : คู่มือนักข่าวสำหรับการรายงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก Global Citizenship Education: A Policymaking Awareness and Advocacy Handbook Climate Science Literacy: Media Toolkit in Support of the Sustainable Development Goals Building the Bridge To Reduce Armed […]

  • Asia-Pacific Sustainable Development Journal

    วารสาร “Asia-Pacific Sustainable Development Journal” ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละสองครั้งในเดือนพฤษาคมและพฤศจิกายน โดยเป็นวารสารต่อเนื่องจากชื่อเดิมคือ Asia Pacific Development Journal (APDJ) ที่ให้เนื้อหาสอดคล้องกับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนปี 2030 เริ่มเผยแพร่ด้วยชื่อวารสาร Asia-Pacific Sustainable Development Journal ตั้งแต่ปีค.ศ. 2018 จนถึงปัจจุบัน     หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: วารสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: TIJ Journal: หลักนิติธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: Rethinking Public Debt […]

  • Progress on Wastewater Treatment – 2021 Update

    รายงานความคืบหน้าสถานการณ์การบำบัดน้ำเสียของโลกในปี พ.ศ. 2564 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.3 ภายในปี พ.ศ. 2573 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.3.1 เรื่องการสัดส่วนของน้ำเสียจากครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่ได้รับการบำบัดอย่างปลอดภัย หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of the Sudan

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of the Sudan” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐซูดาน ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of South Sudan Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Lithuania Joint […]

  • ชีวิตที่ไม่มีใครเห็น: 48 ปีสถานการณ์เด็กไร้สัญชาติในประเทศไทย (2515–2563)

    รายงานสรุป “ชีวิตที่ไม่มีใครเห็น: 48 ปีสถานการณ์เด็กไร้สัญชาติในประเทศไทย (2515 – 2563) (Invisible Lives: 48 Years of the Situation of Stateless Children in Thailand (1972-2020))” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Ending Childhood Statelessness in Thailand: Developing an Accelerated Nationality Review Model through Research and Empowerment of Stakeholders ดำเนินการศึกษาทบทวนสถานการณ์ปัญหา ข้อจำกัดในการเข้าถึงการจดทะเบียนการเกิด และพัฒนาสิทธิในสัญชาติไทยของเด็กไร้รัฐไร้สัญชาติในประเทศไทย รวมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติ เพื่อจัดการปัญหาดังกล่าว     หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ […]

  • WHO benchmarks for International Health Regulations (IHR) capacities

    คู่มือ “WHO benchmarks for International Health Regulations (IHR) capacities” เครื่องมือส่งเสริมการเพิ่มขีดความสามารถของกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ในการรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพและบูรณาการตั้งแต่ระดับท้องถิ่นไปจนถึงระดับประเทศ ให้บรรลุและมีความพร้อมที่จะป้องกัน ตรวจจับ และตอบสนองต่อภัยคุกคามและสถานการณ์ต่าง ๆ   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: คู่มือฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: International Health Regulations (IHR): Joint External Evaluation (JEE): Country Implementation Guide Joint External Evaluation Tool: International Health Regulations (2005)-First Edition International Health Regulations (2005): Guidance Document […]

  • The State of Food Security and Nutrition in the World 2021

    Transforming food systems for food security, improved nutrition and affordable healthy diets for all รายงานนี้นำเสนอการประเมินความไม่มั่นคงทางอาหารและภาวะทุพโภชนาการระดับขอปี 2020 และบ่งชี้ว่าสถานการณ์ความหิวโหยจะเป็นอย่างไรภายในปี 2030 ภายใต้สถานการณ์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นจากผลกระทบจากการระบาดใหญ่ของโควิด-19 นอกจากนี้ยังมีการประมาณการใหม่เกี่ยวกับต้นทุนและความสามารถในการจ่ายซื้ออาหารที่ดีต่อสุขภาพได้ด้วย ซึ่งเป็นความเชื่อมโยงที่สำคัญระหว่างตัวชี้วัดความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการ ในภาพรวม รายงานฉบับนี้ยังเน้นให้เห็นถึงความจำเป็นในการสะท้อนคิดถึงวิธีจัดการกับสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการของโลกเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food Security and Nutrition in the World 2017 The State of Food Security and Nutrition in the World 2018 The Fisheries and […]

  • Global Status Report for Buildings and Construction

    รายงาน “Global Status Report for Buildings and Construction 2024” เป็นรายงานประจำปีที่แสดงภาพรวมความก้าวหน้าของภาคส่วนอาคารและการก่อสร้างในระดับโลก รายงานสถานการณ์อาคารโลกทบทวนสถานะของนโยบาย การเงิน เทคโนโลยี และแนวทางแก้ไข เพื่อติดตามความสอดคล้องของภาคส่วนนี้กับข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) นอกจากนี้ รายงานยังมอบข้อมูลเชิงประจักษ์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อโน้มน้าวให้ผู้กำหนดนโยบายและชุมชนคนทำงานภาคส่วนอาคารและการก่อสร้างให้ดำเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก     หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) และพันธมิตรอาคารและการก่อสร้างโลก (GlobalABC) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: National Systems to Support Drinking-Water, Sanitation and Hygiene: Global Status Report 2019 Global Status Report on Road Safety 2023 Global Assessment Report: Special Report […]

  • การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย”

    การ์ตูนเรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” แปลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ ชื่อ “The Planet and the 17 Goals” โดย Margreet de Heer นักวาดการ์ตูนจากประเทศเนเธอร์เแลนด์ ภายใต้การดำเนินการในโครงการ Comics Uniting Nations ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง UNICEF, PCI Media, World’s Largest Lesson, มูลนิธิ PVBLIC และ Reading with Pictures มีเป้าหมายเพื่อให้คนทั่วไปสามารถเข้าถึงและทำความรู้จัก เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development Goals หรือ SDGs ผ่านการ์ตูนที่เข้าถึงผู้อ่านได้ทุกกลุ่ม   หน่วยงานที่จัดทำ: SDG Move ดาวน์โหลดได้ที่นี่ Related posts: ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) […]

  • Global Report on Food Crises 2023

    รายงาน “Global Report on Food Crises 2023” ว่าด้วยวิกฤติด้านอาหารในระดับโลก พบว่ามีจำนวนผู้ประสบภัยจากความไม่มั่นคงทางอาหารเพิ่มสูงขึ้น โดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงครามในยูเครนด้วย     หน่วยงานที่จัดทำ: Global Network against Food Crises โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) โครงการอาหารโลก (WFP) และสหภาพยุโรป ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Report on Food Crises 2021 Global Report on Food Crises 2020 Global Report on Food Crises 2017 Global Report on Food Crises 2022