Why Gender Equality Matters to Achieving All 17 SDGs
July 5, 2018ชุดอินโฟกราฟิก “Why gender equality matters to achieving all 17 SDGs” แสดงความเชื่อมโยงระหว่างการสร้างความเท่าเทียมทางเพศ กับการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ทั้ง 17 เป้าหมาย หน่วยงานที่จัดทำ: UN Women ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: เป้าหมายที่ 5 บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรีและเด็กหญิง (SDG 5: Gender equality) The Crucial Role of Legal Frameworks in Advancing Gender Equality Population Matters for Sustainable Development Multi-stakeholder Approaches to Education for Sustainable Development in Local Communities: […]
Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Zimbabwe
September 5, 2018รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of Zimbabwe” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐซิมบับเว ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Serbia Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Slovenia Joint […]
แนวทางการพัฒนาภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Finance Initiatives for Thailand)
August 18, 2021วิดีโอคลิป “แนวทางการพัฒนาภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Finance Initiatives for Thailand)” ให้ข้อมูลความร่วมมือที่สำคัญของภาคการเงินไทยเพื่อกำหนดทิศทางและกรอบการดำเนินงานด้าน sustainable finance ในประเทศ หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) รับชมวิดีโอ: ได้ ที่นี่ Related posts: Hygiene: UN-Water GLAAS Findings on National Policies, Plans, Targets and Finance รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) Joint External Evaluation of IHR […]
Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of the Philippines
June 14, 2019รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of the Philippines” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Moldova Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kyrgyz Republic Joint External […]
Sustainable Development Report of the United States 2018
September 28, 2018รายงาน “Sustainable Development Report of the United States 2018” วิเคราะห์ค่าฐาน (baseline) สำหรับใช้ติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ระดับ 50 รัฐในสหรัฐอเมริกา หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: ราบงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the United States of America World Health Statistics 2018: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) Joint External Evaluation of IHR Core […]
Stronger Collaboration, Better Health: 2020 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being for All
September 15, 2020รายงานฉบับนี้เป็นรายงานความคืบหน้าของแผนปฏิบัติการเพื่อสุขภาพและสุขภาวะที่ดีสำหรับทุกคน (Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being for All) ฉบับแรก ซึ่งครอบคลุมการดำเนินการ 8 เดือนแรกตั้งแต่ที่ได้เปิดตัวในที่ประชุมสมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติ เมื่อกันยายน 2562 โดยหน่วยงานภาคีได้ขยับจากคำมั่นสู่การลงมือปฏิบัติ ตลอดจนได้ใช้แผนดังกล่าวเพื่อเติมช่องว่างและเพิ่มคุณค่าในกลไกความร่วมมือระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับโลกที่มีอยู่เดิม เพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโควิด-19 หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy […]
2030 Recommendations of the United Nations Senior Leadership Group on Disaster Risk Reduction for Resilience
January 30, 2024เอกสาร “2030 Recommendations of the United Nations Senior Leadership Group on Disaster Risk Reduction for Resilience” เสนอการสนับสนุนของระบบองค์การสหประชาชาติทั้งหมดเกี่ยวกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการเสริมสร้างความสามารถในการฟื้นตัวจนถึงปี 2030 และยังเป็นการเสริมสร้างพันธกรณีที่ให้ไว้ในแผนปฏิบัติการด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื่อการตั้งรับปรับตัวขององค์การสหประชาชาติ หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Office for Disaster Risk Reduction ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: United Nations Common Guidance on Helping Build Resilient Societies ESCAP Multi-Donor Trust Fund for Tsunami, Disaster and Climate Preparedness Summary and Recommendations: Regional […]
Population and Sustainable Development in the Post-2015 Agenda
January 11, 2014รายงานฉบับนี้นำเสนอความสำคัญของการสำรวจความท้าทายด้านการพัฒนาตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการมองในมุมความเชื่อมโยงกับพลวัตด้านประชากรศาสตร์ สิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ เพราะประเด็นด้าน “ประชากร” ย่อมมีผลต่อวาระการพัฒนา หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: State of World Population 2015 Population Matters for Sustainable Development รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2560 (2017 […]
การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดย กลต.
October 27, 2022การนำเสนอ ” การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดย กลต.” ให้แผนการทำงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดยเน้นไปที่บริษัทและธุรกิจที่อยู่ในตลาดหุ้นและตลาดทุน หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) SDGs กับเกษตรกร SDGs กับชีวิตคนเมือง
World Cities Report 2024: Cities and Climate Action
March 31, 2025รายงาน “World Cities Report 2024: Cities and Climate Action” ชี้ให้เห็นว่าเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกกำลังเผชิญกับความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงขึ้น โดยเฉพาะปัญหาการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตของประชาชนจำนวนมากในเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเปราะบาง ทั้งนี้ เมืองต่าง ๆ ยังขาดแคลนงบประมาณในการปรับตัวรับกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทำให้เสี่ยงต่อภัยพิบัติต่างๆ มากขึ้น อย่างไรก็ตาม รายงานยังมองในแง่บวก โดยชี้ให้เห็นว่าเมืองสามารถเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหาได้ หากมีการวางแผนและดำเนินการที่เหมาะสม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและการปรับตัวให้เข้ากับบริบทท้องถิ่น หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN HABITAT) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Synergy Solutions for a World in Crisis: Tackling Climate and SDG Action Together Global Hepatitis Report 2024: Action for Access in […]
The Energy Progress Report 2021
June 7, 2021รายงานสถานการณ์ความก้าวหน้าของการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 7 การเข้าถึงพลังงานและพลังงานสะอาด ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน พลังงงานหมุนเวียน และความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการบรรลุเป้าหมายที่ 7 โดยรายงานฉบับนี้ได้รวบรวมข้อมูลและสถานะจากหลากหลายประเทศในปี 2020/21 เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับผู้กำหนดนโยบาย และผู้สนใจ ในการติดตามสถานการณ์และออกแบบแนวทางเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว หน่วยงานที่จัดทำ: International Energy Agency (IEA) the International Renewable Energy Agency (IRENA), the UN Department of Economic and Social Affairs (UN DESA), the World Bank และ the World Health Organization (WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Tracking SDG7: The Energy Progress Report 2023 Regional Energy […]
World Population Prospects 2024: Summary of Results
July 12, 2024รายงาน “World Population Prospects 2024: Summary of Results” เป็นรายงานสรุปผลการประมาณการและการคาดการณ์ประชากรโลกอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ โดยใช้ข้อมูลประชากรจาก 237 ประเทศ/รัฐทั่วโลก ตั้งแต่ปีค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน โดยรายงานฉบับนี้ยังได้คาดการณ์จำนวนและสถานการณ์ประชากรไปจนถึงปีค.ศ. 2100 โดยคำนึงถึงผลลัพธ์ที่เป็นไปได้หลายกรณีในระดับโลก ภูมิภาค และระดับชาติ หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานกิจการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ ((United Nations Department of Economic and Social Affairs: UN DESA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Economic Situation and Prospects 2024 State of World Population 2017 State of World Population 2016 State of World Population […]
Reducing Inequality in the Decade of Action to Achieve the SDGs and Accelerate Post-pandemic Recovery
August 31, 2022บทสรุปเชิงนโยบาย “Reducing Inequality in the Decade of Action to Achieve the SDGs and Accelerate Post-pandemic Recovery” ให้ความสำคัญและขยายความแนวทางการลดความเหลื่อมล้ำในภูมิภาคอาเซียนเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง นอกจากนี้ บทความนี้ยังกล่าวถึงผลกระทบจากความเหลื่อมล้ำต่อประชากรในมิติต่าง ๆ ครอบคลุมประเด็นสำคัญ 5 ประเด็น ได้แก่ งาน สวัสดิการสังคม การศึกษา สาธารณสุข และความมั่นคงทางอาหาร โดยบทสรุปเชิงนโยบายนี้เป็นผลลัพธ์จากการหารือบนเวทีการประชุมเชิงวิชาการอาเซียน-จีน-UNDP ครั้งที่ 6 เกี่ยวกับ SDGs หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Women as Agents of Change for Greening […]
Bracing for Superbugs: Strengthening Environmental Action in the One Health Response to Antimicrobial Resistance
February 7, 2023รายงาน “Bracing for Superbugs: Strengthening Environmental Action in the One Health Response to Antimicrobial Resistance” นำเสนอข้อมูลเชิงประจักษ์ที่บ่งชี้ว่า สิ่งแวดล้อมมีบทบาทสำคัญต่อการก่อตัว การแพร่เชื้อ และการติดเชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial Resistance: AMR) ซึ่งแนวทางในการรับมือปัญหานี้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ตามแนวทาง “One Health” ซึ่งเป็นแนวทางแบบบูรณาการที่มองเห็นว่าสุขภาพของคน สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด แนวทางนี้จึงจำเป็นในการแก้ไขปัญหาเชื้อโรคดื้อยา หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Strengthening National Indicator Frameworks to Drive National SDG Implementation: […]
Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of the Union Myanmar
March 20, 2018รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of the Union of Myanmar” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Iraq Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kyrgyz Republic […]
The State of Food and Agriculture 2020
January 1, 2020Overcoming water challenges in agriculture รายงานสถานการณ์อาหารและเกษตรกรรมปี 2563 ประเมินการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ทำชลประทานและในพื้นที่เกษตรกรรมที่ต้องพึ่งพาน้ำฝน รวมทั้งประเมินผลกระทบที่มีต่อเกษตกรรายย่อยและประชาชน โดยมีข้อมูลและหลักฐานความแตกต่างตามบริบทของแต่ละประเทศ เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ มีข้อมูลที่เพียงพอประกอบการจัดทำนโยบาย/มาตรการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำสำหรับภาคเกษตรกรรม โดยที่ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งน้ำสำหรับการอุปโภคและบริโภคได้อย่างเสมอภาคและยั่งยืน หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The State of Food and Agriculture 2019 The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021 Global Report on Food Crises 2020
เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2558
October 7, 2015รวมเอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ภายในปี พ.ศ. 2558 หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทย ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kingdom of Lesotho Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kingdom of Bahrain Report of the Global Conference on Primary Health Care: From Alma-Ata Towards Universal Health Coverage and the Sustainable […]
นโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนอย่างเป็นธรรม (Public Policy for Just Sustainable Futures)
April 1, 2023หนังสือ เรื่อง “นโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนอย่างเป็นธรรม” (Public Policy for Just Sustainable Futures) รวบรวม 6 บทความที่ถูกเรียบเรียงมาจากเวทีเสวนาระหว่างนักวิชาการด้านนโยบายสาธารณะรุ่นใหม่ในเครือข่าย Thailand Public Policy Network (TPPN) เพื่อทบทวนมุมมองการสร้างความยั่งยืนอย่างเป็นธรรมผ่านนโยบายสาธารณะ ภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) และสถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Thailand Public Revenue and Spending Assessment: Promoting an Inclusive and Sustainable Future Measuring Children’s Well-being: the Child Flourishing and Futures […]
เป้าหมายที่ 8 การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ (SDG 8: Decent work and economic growth)
October 12, 2020ในระยะ 25 ปีที่ผ่านมา จำนวนแรงงานที่ประสบปัญหาความยากจนขั้นรุนแรงลดลงอย่างมาก จำนวนชนชั้นกลางมีสัดส่วนกว่าร้อยละ 34 ของการจ้างงานทั้งหมดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม วิกฤตเศรษฐกิจปี 2551 ส่งผลให้เกิดภาวะถดถอยของเศรษฐกิจโลก แม้เศรษฐกิจจะเริ่มฟื้นตัว แต่อัตราการเติบโตยังต่ำ และปัญหาความเหลื่อมล้ำรุนแรงขึ้น การจ้างงานไม่เพียงพอต่อตลาดแรงงานที่เติบโตขึ้น องค์การแรงงานระหว่างประเทศรายงานว่าในปี 2558 มีผู้ไม่มีงานทำถึง 204 ล้านคนทั่วโลก เป้าหมายที่ 8 ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยบรรลุการมีผลิตภาพและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ผ่านการสนับสนุนการเป็นผู้ประกอบการและการสร้างงาน รวมทั้งมาตรการที่มีประสิทธิผลในการขจัดแรงงานบังคับ แรงงานทาส และการค้ามนุษย์ เพื่อบรรลุการจ้างงานเต็มรูปแบบ มีประสิทธิภาพและมีคุณค่า สำหรับทุกคนภายในปี 2573 หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย (SDG 2: Zero Hunger) เป้าหมายที่ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน (SDG 9: Industry innovation […]
เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย (SDG 2: Zero Hunger)
October 6, 2020เป้าหมายที่ 2 (SDG 2: Zero Hunger) มุ่งมั่นที่จะขจัดความหิวโหยและความอดอยากทุกรูปแบบ ภายในปี 2573 เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผู้ด้อยโอกาส เข้าถึงอาหารที่เพียงพอและมีคุณค่าทางโภชนาการตลอดทั้งปี นอกจากนี้ ยังมุ่งส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน การปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่และกำลังการผลิตของเกษตรกรรายย่อยให้เข้าถึงแหล่งที่ดินทำกิน เทคโนโลยีและการตลาดอย่างเท่าเทียม หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: เป้าหมายที่ 5 บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรีและเด็กหญิง (SDG 5: Gender equality) เป้าหมายที่ 6 การจัดการน้ำและการสุขาภิบาลที่ยั่งยืน (SDG 6: Clean water and sanitation) เป้าหมายที่ 12 แผนการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (SDG 12: Responsible consumption and production) เป้าหมายที่ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (SDG 13: Climate action)