Sorting:
Sort Descending
  • Transforming Our World: Interdisciplinary Insights on the Sustainable Development Goals

    เอกสาร “Transforming Our World: Interdisciplinary Insights on the Sustainable Development Goals” นำเสนอข้อค้นพบเชิงลึกแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ (interdisciplinary) เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มีเนื้อหารวมไปถึง โอกาสของสหภาพยุโรปในการจัดการความท้าทายในการพัฒนาที่ยั่งยืนระดับโลก ความเชื่อมโยงระหว่างทุนทางธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม ศักยภาพของงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนผ่านไปสู่ดิจิทัล การทำฟาร์มคาร์บอนและตลาดคาร์บอนโดยสมัครใจในสหภาพยุโรป การให้ทุนสนับสนุนของภาคเอกชนของ SDGs และการระบุประเด็น SDGs ในพอร์ตการลงทุนสินทรัพย์ทางการเงิน     หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Employment Trends for Youth 2022: Investing in Transforming Futures for Young People World Health Statistics 2021: Monitoring Health […]

  • Key Indicators for Asia and the Pacific 2023

    รายงาน “Key Indicators for Asia and the Pacific 2023” นำเสนอสถิติเกี่ยวกับตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ การเงิน สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงตัวชี้วัดที่สำคัญบางประการสำหรับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ล่าสุดของประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก 49 ประเทศที่เป็นสมาชิกธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) เนื้อหาภายในวิเคราะห์แนวโน้มความก้าวหน้าในการพัฒนา และอุปสรรคในการบรรลุการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ทั้งค่าครองชีพที่พุ่งสูงขึ้นควบคู่ไปกับผลกระทบที่ยังคงอยู่จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ประชาชนหลายล้านคนในภูมิภาคเข้าสู่ภาวะยากจนมากขึ้น     หน่วยงานที่จัดทำ: ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Tracking Progress on Food and Agriculture-related SDG Indicators 2023 Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: […]

  • SDG Index and Dashboards 2018

    รายงาน “SDG Index and Dashboards 2018” นำเสนอดัชนี SDG (SDG Index) และ Dashboards ที่จะช่วยชี้ประเด็นลำดับความสำคัญในการดำเนินการเพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)   หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ Bertelsmann Stiftung ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Africa SDG Index and Dashboards 2018 2020 Africa SDG Index and Dashboards Report 2019 Arab Region SDG Index and Dashboards Report 2019 Africa SDG Index and Dashboards Report

  • National Cooling Action Plan Methodology

    รายงาน “National Cooling Action Plan Methofology” นำเสนอหลักการแบบองค์รวมสำหรับการพัฒนาแผนปฏิบัติการการใช้สารทำความเย็นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (NCAP) ซึ่งเอกสารฉบับนี้ซึ่งสามารถปรับใช้ได้กับบริบทในแต่ละประเทศ โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมให้ใช้ระบบการทำความเย็นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Key Elements of An Effective National Indicator Framework to Drive National SDG Implementation Strengthening National Indicator Frameworks to Drive National SDG Implementation: Moving Forward Stronger Collaboration for an Equitable […]

  • 2020 Africa SDG Index and Dashboards Report

    รายงาน “2020 Africa SDG Index and Dashboards Report” ประเมินความคืบหน้าของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศในทวีปแอฟริกา ผ่านเลนส์ ‘ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง’   หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ Sustainable Development Goals Center for Africa ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: 2019 Africa SDG Index and Dashboards Report Africa SDG Index and Dashboards 2018 2019 Arab Region SDG Index and Dashboards Report SDG Index and Dashboards Report for […]

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of the Sudan

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of the Sudan” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐซูดาน ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of South Sudan Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Lithuania Joint […]

  • รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development)

    รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) หรือรายงาน VNR นำเสนอความก้าวหน้า อุปสรรค และประสบการณ์ในการขับเคลื่อน SDGs ของประเทศไทย   หน่วยงานที่จัดทำ: กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ และภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda […]

  • Textbooks for Sustainable Development: a Guide to Embedding

    หนังสือ “Textbooks for sustainable development: a guide to embedding” นำเสนอเนื้อหาที่จะสนับสนุนผู้เขียนตำราและสำนักพิมพ์ในการผลิตตำรารุ่นใหม่ ๆ ที่บูรณาการเนื้อหาของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Education for Sustainable Development: ESD) ทั้งการมุ่งสู่สังคมที่มีสันติภาพ การพัฒนาที่ยั่งยืน และความเป็นพลเมืองโลก เข้าไปด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Reflect–Share–Act: A Guide to Community-based Education for Sustainable Development From Commitment to Action: Integrating Sustainable Development into National Education Priorities: […]

  • การประเมินผลกระทบรวมด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย

    รายงาน “การประเมินผลกระทบรวมด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย” (Socio-Economic Impact Assessment of COVID-19 in Thailand) ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากผลการศึกษา การสำรวจ และการประเมินต่าง ๆ ซึ่งจัดทำโดยหน่วยงานสหประชาชาติในประเทศไทย เพื่อศึกษาผลกระทบที่รุนแรงจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และสรุปกรอบนโยบายที่สำคัญเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการฟื้นฟูต่อไป   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ร่วมกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและธนาคารพัฒนาเอเชีย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดย กลต. World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of […]

  • Global Resources Outlook 2024

    รายงาน “Global Resources Outlook 2024” นำเสนอสถานการณ์การใช้ทรัพยากรของโลก โดยพบว่าการดึงทรัพยากรธรรมชาติออกมาใช้เพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก 60% ภายในปี 2060 หากเราไม่เปลี่ยนแปลงแนวทางการใช้ทรัพยากร การดำเนินการที่ไม่ยั่งยืนเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาความหลากหลายทางชีวภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment. Programme: UNEP) และ International Resource Panel (IRP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Employment and Social Outlook: Trends 2024 Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress […]

  • SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+)

    ประเทศไทยมีประชากรกลุ่ม LGBTQI+ จำนวนกว่า 4 ล้านคน คิดเป็น 6% ของจำนวนประชากรไทยทั้งหมด แม้ว่าในมุมมองของชาว LGBTQI+ ทั่วโลกจะเห็นว่าประเทศไทยค่อนข้างจะเปิดกว้างในเรื่องความหลากหลายทางเพศ และให้การยอมรับชาว LGBTQI+ อย่างเต็มที่ แต่การวิจัยจากกลุ่มธนาคารโลก ร่วมกับคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบริษัท Love Frankie ระบุว่ากลุ่มคนข้ามเพศ 77% หญิงรักหญิง 62.5% และชายรักชาย 49% ถูกปฏิเสธการรับเข้าทำงาน เนื่องจากความแตกต่างทางเพศวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศ การเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ ไม่ได้มีเพียงแค่ในสังคมที่ทำงานเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับชาว LGBTQI+ โดยทั่วไป หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดีโอได้ที่นี่ : Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action) […]

  • รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2565

    “รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2565” เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นรายปี รวบรวมประเด็นสำคัญทางสุขภาพและสังคมของปีนั้น ๆ เพื่อเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการสร้างการเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต ฉบับปีนี้นำเสนอ 12 ตัวชี้วัดทางสุขภาพ 10 สถานการณ์สำคัญทางสุขภาพ และ 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย ฉบับปีนี้มาในธีม “ครอบครัวไทยในวิกฤตโควิด-19”   หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2564 รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2564-2565 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2565 รายงานผลการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2565

  • เป้าหมายที่ 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน (SDG 9: Industry innovation and infrastructure)

    พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนและทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็เป็นกุญแจสำคัญในการหาทางแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนให้กับความท้าทายทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดให้มีชิ้นงานใหม่และส่งเสริมประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและการลงทุนในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม เหล่านี้เป็นวิธีที่สำคัญที่จะช่วยสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและนวัตกรรมเป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนา 17 ข้อ ที่อยู่ในวาระการจัดทำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) วิธีการแบบบูรณาการเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เกิดความคืบหน้าไปยังเป้าหมายอื่นๆ หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: เป้าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ (SDG 1: No Poverty) เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย (SDG 2: Zero Hunger) เป้าหมายที่ 8 การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ (SDG 8: Decent work and economic growth) เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน (SDG 15: Life on land)

  • The State of Food Security and Nutrition in the World 2018

    Building climate resilience for food security and nutrition รายงานฉบับนี้ เผยให้เห็นความท้าทายใหม่ในการยุติความหิวโหย ความไม่มั่นคงทางอาหาร และภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบ โดยได้สำรวจสาเหตุปัจจัยของความหิวโหยและวิกฤติอาหารที่ร้ายแรงระดับโลก ซึ่งมีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม ซ้ำยังมีประเด็นปัญหาใหม่ อาทิ โรคอ้วนและภาวะน้ำหนักเกิน โดยพบว่านอกเหนือจากปัจจัยอย่างความขัดแย้งที่มีผลต่อความมั่นคงทางอาหารแล้ว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสภาพอากาศที่สุดขั้ว ยังแทรกตัวอยู่ในทุกมิติปัจจัยที่เกี่ยวข้องของความมั่นคงทางอาหาร ทั้งในด้านการทำให้มี (availability) การเข้าถึง (accessibility) การใช้ประโยชน์ (utilization) และการมีเสถียรภาพ (stability) หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food Security and Nutrition in the World 2017 The State of Food and Agriculture 2018 The Impact […]

  • Global Sustainable Development Report (GSDR) 2023

    รายงาน “Global Sustainable Development Report (GSDR) 2023” เขียนโดยกลุ่มนักวิทยาศาสตร์อิสระ (Independent Group of Scientists: IGS) เป็นรายงานฉบับสำคัญที่เผยแพร่ทุก 4 ปีนับตั้งแต่มีการลงนามรับรองเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อสนับสนุนการดำเนินการ โดยฉบับที่สองประจำปีค.ศ. 2023 นี้ถือเป็นการทบทวนครึ่งทางของวาระ จึงเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกโฉมด้วยวิทยาศาสตร์ ที่จะสามารถเปลี่ยนทิศทางการขับเคลื่อน (SDGs) ให้ไปข้างหน้าได้รวดเร็วขึ้น     หน่วยงานที่จัดทำ: UN DESA ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Global Sustainable Development Report (GSDR) 2019 Sustainable Development Report 2023 Sustainable Development Goals Report 2023: Special Edition Economic and Social […]

  • Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap for Tonga

    รายงาน “Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap for Tonga” นำเสนอการจัดทำ Roadmaps ของราชอาณาจักรทองกา (Tonga) ในเรื่องของการเปลี่ยนผ่านพลังงาน โดยทางคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) ได้จัดทำรายงานฉบับนี้ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูล เทคโนโลยี มาตรการที่รัฐบาลควรคำนึงถึง ซึ่งนำเสนอแนวทางต่าง ๆ ที่เหมาะสม โดยข้อมูลเหล่านี้พัฒนามาจากชุดข้อมูลระดับประเทศที่มีอยู่ เพื่อให้รัฐบาลสามารถตัดสินใจเชิงนโยบายได้อย่างเหมาะสมและบรรลุเป้าหมาย #SDG7 ภายในปี ค.ศ. 2030   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda […]

  • ASEAN Sustainable Urbanisation Report

    รายงาน “ASEAN Sustainable Urbanisation Report” ฉายภาพความหลากหลายของบริบทเมืองในประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความสำคัญของเมืองรอง (Secondary Cities) ที่เพิ่มขึ้นและความจำเป็นในการเสริมสร้างศักยภาพของเมืองเหล่านี้อย่างเต็มที่ รายงานนี้มุ่งหวังส่งเสริมความเข้าใจถึงโอกาสและความท้าทายของการพัฒนาเมืองและเน้นวิธีการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจะทำงานร่วมกันเพื่อกำหนดอนาคตเมืองที่ยั่งยืน     หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Regional Energy Trends Report 2020: Tracking SDG 7 in the ASEAN Region The 2022 ASEAN SDG Snapshot Report ASEAN SDG Indicators Baseline Report 2020 SDG 7 Localization: Affordable and Clean Energy in ASEAN […]

  • Liquidity and Debt Solutions to Invest in the SDGs: The Time to Act is Now

    บทสรุปเชิงนโยบาย “Liquidity and Debt Solutions to Invest in the SDGs: The Time to Act is Now” ทำการรวบรวมการตอบสนองทางนโยบายทั่วโลกตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2563 ประเมินช่องว่างและความท้าทายที่เหลืออยู่สำหรับการนำไปปฏิบัติ และเสนอข้อแนะนำในการแก้ปัญหาทางการเงินที่เป็นรูปธรรมสำหรับภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและการพัฒนาที่เป็นผลมาจากโควิด-19 รวมถึงทางเลือกในการฟื้นฟูที่ดีขึ้นและการลงทุนในอนาคตที่ยั่งยืนและครอบคลุมมากขึ้น     หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การสหประชาชาติ (UN) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Education for Sustainable Development and the SDGs, Learning to Act, Learning to Achieve Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: Rethinking […]

  • รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ 2561-2563

    “CHULALONGKORN UNIVERSITY SUSTAINABILITY REPORT 2018-2020” รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ 2561-2563    หน่วยงานที่จัดทำ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดาวน์โหลด: เอกสารอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ 2563-2564 รายงานผลการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2563 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2561

  • Child Food Poverty: A Nutrition Crisis in Early Childhood – 2024

    รายงาน “Child Food Poverty: A Nutrition Crisis in Early Childhood – 2024” วิเคราะห์ผลกระทบและสาเหตุของภาวะขาดสารอาหารในเด็กเล็กทั่วโลกเป็นครั้งแรก ครอบคลุมข้อมูลจากเกือบ 100 ประเทศและทุกกลุ่มรายได้ รายงานนี้ให้ภาพรวมสถานการณ์โลกพบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี หลายล้านคน ไม่สามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลายเพื่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดีที่สุดในวัยเด็กและอนาคตได้   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Global Trends in Child Monetary Poverty According to International Poverty Lines วิกฤติสภาพภูมิอากาศ คือวิกฤติสิทธิเด็ก: ดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก (The Climate Crisis is a Child Rights Crisis: Children’s Climate Risk […]