ชีวิตที่ไม่มีใครเห็น: 48 ปีสถานการณ์เด็กไร้สัญชาติในประเทศไทย (2515–2563)
March 1, 2021รายงานสรุป “ชีวิตที่ไม่มีใครเห็น: 48 ปีสถานการณ์เด็กไร้สัญชาติในประเทศไทย (2515 – 2563) (Invisible Lives: 48 Years of the Situation of Stateless Children in Thailand (1972-2020))” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Ending Childhood Statelessness in Thailand: Developing an Accelerated Nationality Review Model through Research and Empowerment of Stakeholders ดำเนินการศึกษาทบทวนสถานการณ์ปัญหา ข้อจำกัดในการเข้าถึงการจดทะเบียนการเกิด และพัฒนาสิทธิในสัญชาติไทยของเด็กไร้รัฐไร้สัญชาติในประเทศไทย รวมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติ เพื่อจัดการปัญหาดังกล่าว หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. […]
อภิธานศัพท์สำหรับสื่อมวลชนเกี่ยวกับการย้ายถิ่น ว่าด้วยแรงงานหญิงข้ามชาติ และการยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง
August 15, 2021“อภิธานศัพท์สำหรับสื่อมวลชนเกี่ยวกับการย้ายถิ่น ว่าด้วยแรงงานหญิงข้ามชาติ และการยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง (Media-friendly glossary on migration: Women migrant workers and ending violence against women (EVAW) edition)” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางสำหรับสื่อมวลชน นักวิจัย ผู้ฝึกอบรม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ซึ่งดำเนิน การฝึกอบรมหรือผู้เขียนเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของแรงงานหญิง และความรุนแรงต่อผู้หญิงในบริบทของการย้ายถิ่น หน่วยงานที่จัดทำ:องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ และเอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: WHO Guidance for Climate Resilient and Environmentally Sustainable Health Care Facilities International Health Regulations (IHR): Joint External Evaluation (JEE): Country […]
แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2562-2565)
October 1, 2019เอกสาร “แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2562-2565)” (Thailand’s 1st National Action Plan on Business and Human Rights (NAP)) เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานให้กับภาคส่วนต่าง ๆ ในการป้องกัน บรรเทา และแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เป็นผลจากการประกอยธุรกิจ โดยเชื่อมโยงกับนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรการต่าง ๆ ทั้งในประเทศ และพันธกรณีระหว่างประเทศ กับหลักการชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UN Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) หน่วยงานที่จัดทำ: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2564-2565 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2565 […]
The State of Food and Agriculture 2021
November 23, 2021Making agrifood systems more resilient to shocks and stresses รายงานสถานการณ์อาหารและเกษตรกรรมปี 2564 นำเสนอตัวชี้วัดระดับประเทศของความสามารถในการตั้งรับปรับตัวของของระบบอาหารเกษตร ตัวชี้วัดเหล่านี้ใช้วัดความคงทนของการผลิตขั้นต้นและความพร้อมด้านอาหาร ตลอดจนการเข้าถึงอาหารทั้งทางกายภาพและทางเศรษฐกิจ จึงสามารถช่วยประเมินความสามารถของระบบอาหารเกษตรระดับประเทศในสภาวะช็อกและความตึงเครียด เช่น จากวิกฤตการระบาดใหญ่ของ COVID-19 จึวจำเป็นต้องมีการดำเนินการเพื่อทำให้ระบบอาหารทางการเกษตรมีความสามารถในการตั้งรับปรับตัว มีประสิทธิภาพ ยั่งยืนและครอบคลุมมากขึ้น หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The State of Food and Agriculture 2020 The State of Food and Agriculture 2019 The Impact of Disasters and Crises […]
รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2562-2563
October 1, 2020รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2562-2563 หน่วยงานที่จัดทำ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Municipal Atlas of the SDGs in Bolivia 2020 2018 U.S. Cities SDGs Index Health in 2015: from MDGs to SDGs Infodemic and SDGs: Internet Freedoms in Southeast Asia
แนวทางการจัดทำแผนอาหารและโครงการระบบอาหารในระดับชุมชนท้องถิ่น
August 1, 2021“แนวทางการจัดทำแผนอาหารและโครงการระบบอาหารในระดับชุมชนท้องถิ่น” ให้แนวทางแก่หน่วยงานและชุมชนระดับท้องถิ่นที่มีความประสงค์จะทำแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกับระบบอาหาร ทั้งประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาได้ ที่นี่ Related posts: WHO Technical Guidance Notes on Sendai Framework Reporting for Ministries of Health International Health Regulations (2005): State Party Self-assessment Annual Report Tool คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ (The Big Conversation: Handbook to Address Violence against Women in […]
เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน (SDG 15: Life on land)
October 12, 2020ระบบนิเวศบนบกมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เช่นเดียวกับระบบนิเวศทางทะเล กว่าร้อยละ 80 ของอาหารมนุษย์มาจากพืช และมนุษย์พึ่งพาการเกษตรเป็นแหล่งทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่สำคัญ นอกจากนี้ ป่าไม้ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยสำคัญของสิ่งมีชีวิตนับล้านชนิด รวมทั้งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำและอากาศที่สะอาด และมีความสำคัญต่อการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่ในทุกๆ ปี เกิดการสูญเสียพื้นที่ป่ากว่า 13 ล้านเฮกเตอร์ (ประมาณ 81 ล้านไร่) ทั่วโลก และการเสื่อมโทรมของที่ดินส่งผลให้เกิดการกลายเป็นทะเลทรายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อชุมชนที่ยากจนทั่วโลก การลักลอบค้าสัตว์ป่าและพืชก่อให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ เป้าหมายที่ 15 มุ่งอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน สนับสนุนให้มีการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนและแก้ไขปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า เพื่อลดความสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งดำเนินการให้มีความมั่นคงทางอาหารและน้ำ และสร้างศักยภาพในด้านการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: เป้าหมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์มหาสมุทรและทรัพยากรทะเลอย่างยั่งยืน (SDG 14: Life below water) เป้าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ (SDG 1: No Poverty) เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย […]
Resilient Futures: Young People, the Climate Crisis, and Sexual and Reproductive Health and Rights
December 12, 2022คู่มือกระบวรกร “Resilient Futures: Young People, the Climate Crisis, and Sexual and Reproductive Health and Rights” ฉบับนี้จะช่วยให้กระบวนกรนำกิจกรรมเวิร์กช็อปสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิทธิด้านสุขภาพอนามัยทางเพศและการสืบพันธุ์แก่เยาวชนได้ง่ายขึ้น เยาวชนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับผลกระทบบางประการของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อสิทธิและสุขภาพของตนเอง ไปจนถึงสุขภาพของผู้หญิงและเด็กหญิงโดยรวม จุดมุ่งหมายคือการเสริมพลังให้เยาวชนผ่านการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับโลกใบนี้ สถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นด้านสิ่งแวดล้อม และการสร้างแนวคิดรวมถึงแรงจูงใจให้เยาวชนลงมือทำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทั้งในระดับพื้นที่และระดับโลก หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Taking Stock: Sexual and Reproductive and Health and Rights in Climate Commitments: A Global Review Summary The Role of Artificial Intelligence in Sexual and Reproductive Health and Rights […]
Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Mauritius
May 21, 2019รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of Mauritius” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐมอริเชียส ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Moldova Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kyrgyz Republic Joint External […]
Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of North Macedonia
June 14, 2017รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of North Macedonia” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Mauritius Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Korea Joint External […]
Sustainable Development Goal: SDG Booklet
June 22, 2021เอกสารเผยแพร่ชื่อเป้าหมาย (Goal) และเป้าหมายย่อย (Target) ของ SDGs ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย (UN Country Team: Thailand) Attachments SDG Booklet File size: 2 MB Downloads: 3728 Related posts: Sustainable Development Goal Interactions Through A Climate Lens: A Global Analysis Session 6: Drawing the Casual Diagram for Integration and Localizing SDG 6 with Other SDGs in cities for Sustainable […]
ข้อคิดเห็นของเยาวชนและนายจ้างเกี่ยวกับโอกาสในการมีงานทำของเยาวชนไทย (Voices of youth and employers on youth employability in Thailand)
August 1, 2021“ข้อคิดเห็นของเยาวชนและนายจ้างเกี่ยวกับโอกาสในการมีงานทำของเยาวชนไทย: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนให้เยาวชนไทยได้เข้าถึงงานที่มีคุณค่าและเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ความเหมาะสม และขอบเขตการดำเนินการในด้านต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตและความสามารถในการทำงานของเยาวชนไทย หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Online Employability Resources for Youth 2021 ชุดวิดีโอประกอบคู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) Global Employment Trends for Youth 2022: Investing in Transforming Futures for Young People
The Wildlife–Livelihoods–Health Nexus: Challenges and Priorities in Asia and the Pacific
March 4, 2024เอกสารสรุปข้อมูล (Information brief) “The Wildlife–Livelihoods–Health Nexus: Challenges and Priorities in Asia and the Pacific” นำเสนอข้อมูลความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกันระหว่างสัตว์ป่า-สุขภาพ-การดำรงชีวิตของผู้คนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกที่จัดทำขึ้นเป็นฉบับแรก วัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นภาพรวมของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สัตว์ป่า และสุขภาพ ตลอดจนประเด็นด้านความท้าทาย โอกาส และศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งได้เสนอข้อเสนอแนะต่อผู้กำหนดนโยบายถึงวิธีการปกป้องทั้งชนิดพันธุ์สัตว์ป่า ความเป็นอยู่ของคน และสังคมได้ดียิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะเหล่านี้จะกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือและส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายและการลงทุนในด้านการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและการจัดการทรัพยากรสัตว์ป่า การดำรงชีวิตของผู้คนในชนบท และแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: GCED: Taking It Local in Asia-Pacific – A Regional Study on GCED Localization and Challenges People and Planet: Addressing the […]
Africa SDG Index and Dashboards 2018
July 6, 2018รายงาน “Africa SDG Index and Dashboards 2018” เป็นเครื่องมือที่ใช้ติดตามความก้าวหน้าของการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศในทวีปแอฟริกา ช่วยชี้ความท้าทายของการลงมือทำและกระตุ้นให้นำเป้าหมาย SDGs ไปปฏิบัติ หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ Sustainable Development Goals Center for Africa ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: 2020 Africa SDG Index and Dashboards Report 2019 Africa SDG Index and Dashboards Report SDG Index and Dashboards 2018 SDG Index and Dashboards Report for European Cities
Education for Sustainable Development Goals: Learning Objectives
January 1, 2017หนังสือ “Education for Sustainable Development Goals – Learning Objectives” นำเสนอคำแนะนำและข้อเสนอเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบาย ผู้พัฒนาหลักสูตรการศึกษา และนักการศึกษาใช้ในการออกแบบหลักสูตรการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เลือกหัวข้อและวัตถุประสงค์การศึกษาที่ปรับเข้ากับบริบทการเรียนต่าง ๆ ได้ หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Education for Sustainable Development and the SDGs, Learning to Act, Learning to Achieve Integrating Education for Sustainable Development (ESD) in Teacher Education in […]
2019 Europe Sustainable Development Report
November 19, 2019รายงาน “2019 Europe Sustainable Development Report” เป็นรายงานเชิงปริมาณฉบับแรกที่นำเสนอพัฒนาการของสหภาพยุโรปและกลุ่มสมาชิกในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ Institute for European Environmental Policy ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Europe Sustainable Development Report 2020 Sustainable Development Report 2019 – Mediterranean Countries Edition 2019 US Cities Sustainable Development Report Sustainable Development Report 2019
Global Report on Food Crises 2021
May 5, 2021รายงานระดับโลกว่าด้วยวิกฤติอาหาร 2564 ฉายภาพสถานการณ์วิกฤติความไม่มั่นคงทางอาหารอย่างรุนแรงใน 55 ประเทศ/เขตแดนทั่วโลก โดยมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งที่มีอยู่เดิม การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอย่างฉับพลันอันเป็นผลมาจากโควิด-19 และสภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) ทั้งนี้ สำหรับปี 2564 จำนวนประชากรโลกที่เผชิญกับสภาวะดังกล่าว ถือว่ามีจำนวนสูงที่สุด ตามข้อมูลที่ปรากฎในรายงานระดับโลกว่าด้วยวิกฤติอาหารที่มีมา 5 ปีแล้ว หน่วยงานที่จัดทำ: Global Network against Food Crises โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) โครงการอาหารโลก (WFP) และสหภาพยุโรป ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Report on Food Crises 2019 Global Report on Food Crises 2020 Global Report on Food Crises 2017 The Impact of Disasters […]
บันทึกงานเสวนาหัวข้อ จาก ESG สู่ SDGs ทำไมจึงสำคัญ
March 5, 2020วิดีโอบันทึก “การเสวนาหัวข้อ จาก ESG สู่ SDGs ทำไมจึงสำคัญ” เป็นช่วงหนึ่งของงานสัมมนา “From ESG to SDGs : Integrating SDGs Impact Measurement and Management Framework in Business and Investment Strategies” ซึ่งจัดโดยสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย (GCNT) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาตลาดทุนไทยสู่ความยั่งยืน สนับสนุนภาคเอกชนดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รับชมวิดีโอได้ที่นี่: Related posts: ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action) […]
Business Reporting on the SDGs: An Analysis of the Goals and Targets
July 1, 2022Business Reporting on the SDGs: An Analysis of the Goals and Targets เป็นแนวทางเเนะนำ (guidance) ฉบับปรับปรุงล่าสุดปี 2022 เพื่อช่วยให้บริษัทต่าง ๆ ใช้สำหรับบูรณาการ SDGs เข้ากับกระบวนการรายงานความยั่งยืนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นประโยชน์เเก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเปรียบเทียบและใช้งานข้อมูลได้สะดวกขึ้น หน่วยงานที่จัดทำ: Global Reporting Initiative (GRI) และ UN Global Compact (UNGC) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: SDG Compass คู่มือการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ SDGs Hygiene: UN-Water GLAAS Findings on National Policies, Plans, Targets and Finance Advancing SDG 5 in […]
Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Somalia
March 20, 2017รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of Somalia” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐโซมาเลีย ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of the Gambia Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Lao People’s Democratic Republic Joint […]