Sorting:
Sort Descending
  • World Population Prospects 2024: Summary of Results

    รายงาน “World Population Prospects 2024: Summary of Results” เป็นรายงานสรุปผลการประมาณการและการคาดการณ์ประชากรโลกอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ โดยใช้ข้อมูลประชากรจาก 237 ประเทศ/รัฐทั่วโลก ตั้งแต่ปีค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน โดยรายงานฉบับนี้ยังได้คาดการณ์จำนวนและสถานการณ์ประชากรไปจนถึงปีค.ศ. 2100 โดยคำนึงถึงผลลัพธ์ที่เป็นไปได้หลายกรณีในระดับโลก ภูมิภาค และระดับชาติ   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานกิจการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ ((United Nations Department of Economic and Social Affairs: UN DESA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Economic Situation and Prospects 2024 State of World Population 2017 State of World Population 2016 State of World Population […]

  • Global Framework for the Response to Malaria in Urban Areas

    รายงาน “Global framework for the response to malaria in urban areas” นำเสนอกรอบการทำงานในการสนับสนุนการควบคุมและกำจัดโรคติดต่อมาลาเลีย (รวมถึงโรคอื่น ๆ ที่มีแมลงเป็นพาหะ) ในสภาพแวดล้อมเขตเมืองที่จะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่บริหารพื้นที่เขตเมือง โครงการด้านสุขภาพ และนักออกแบบผังเมือง ให้ตอบสนองต่อปัญหานี้ได้อย่างรวดเร็วทันต่อการขยายตัวของเมืองและประชากรที่เพิ่มขึ้น มีประสิทธิภาพ และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามบริบทของเมืองแต่ละที่    หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN HABITAT) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Proposals for Crisis-response Provisions in Regional and Bilateral Transport Agreements of the ESCAP Member States Small Island Developing States Response to COVID-19 Strategy Paper on […]

  • World Health Statistics 2024: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World Health Statistics 2024: Monitoring Health for the SDGs, sustainable development goals” เป็นรายงานความก้าวหน้าตัวชี้วัดด้านสุขภาพประจำปีที่จัดทำมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 โดยในฉบับปี 2024 นี้ จะเป็นการทบทวนสถานะล่าสุดของตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Indicators) ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพมากกว่า 50 ตัวชี้วัดที่อยู่ในเป้าหมายต่าง ๆ และสถานะตามแผนการดำเนินงานขององค์การอนามัยโลก ฉบับที่ 13 (The Thirteenth General Programme of Work: GPW 13) ของทุกประเทศทั่วโลก พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลกระทบของโควิด-19 ที่ทำให้แนวโน้มความก้าวหน้าที่ดีขึ้นของอายุขัยคาดเฉลี่ยแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีถอยหลังลง   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring […]

  • รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2564

    รายงาน “รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2564” เป็นรายงานประจำปีที่นำเสนอและเผยแพร่ดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) พร้อมผลการวิเคราะห์และการประเมินความก้าวหน้าของคนในระดับประเทศ ภาค และจังหวัดของไทย ผ่านกรอบแนวคิดการวิเคราะห์หลายด้าน ครอบคลุมดัชนีย่อยในประเด็น ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ชีวิตการงาน เศรษฐกิจ ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม ชีวิตครอบครัวและชุมชน การคมนาคมและการสื่อสาร และการมีส่วนร่วม   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563-2564 รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2564-2565 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2564 (2021 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda […]

  • Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Global Baseline Report 2018

    รายงานสถานการณ์การเข้าถึงน้ำสะอาด ระบบสุขาภิบาล และการมีสุขอนามัยที่ดีในโรงเรียน และกำหนดมาตรการขั้นพื้นฐานของโลกสำหรับการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน พร้อมทั้งประเมินการเข้าถึงน้ำสะอาด ระบบสุขาภิบาล และสุขอนามัย ต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (WHO)/ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19 National Systems to Support Drinking-Water, Sanitation and Hygiene: Global Status Report 2019 Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2017 Progress on Drinking Water, […]

  • State of World Population 2017

    – Worlds Apart – Reproductive health and rights in an age of inequality รายงานฉบับนี้เสนอความเชื่อมโยงระหว่างความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจกับการวางแผนครอบครัว โดยการให้การสนับสนุนด้านสิทธิสตรีและสุขภาพของผู้หญิงจะช่วยให้สามารถสร้างสังคมและเศรษฐกิจที่สมดุลมากยิ่งขึ้น แต่หากรัฐบาลล้มเหลวที่จะสร้างหลักประกันการให้บริการสุขภาพอนามัยเจริญพันธุ์โดยเฉพาะสำหรับประชากรที่มีฐานะยากจน ยิ่งจะเป็นอุปสรรคให้การพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโต รายงานรายปี State of World Population จัดทำโดยกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) เผยแพร่มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978  เป็นรายงานที่เน้นประเด็นใหม่ด้านความท้าทายและโอกาสของสิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในการพัฒนาระหว่างประเทศ หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: State of World Population 2021 State of World Population 2020 State of World […]

  • Global Report on Food Crises 2019

    รายงานระดับโลกว่าด้วยวิกฤติอาหาร 2562 ให้ข้อมูลการประเมินสถานการณ์ความหิวโหยอย่างรุนแรงล่าสุด โดยรวมถึงที่มีสาเหตุมาจากความขัดแย้งและความไม่มั่นคง ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันทั้งด้านสภาพภูมิอากาศและเศรษฐกิจ หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันระดับโลกและระดับภูมิภาคภายใต้ Food Security Information Network ซึ่งรวมถึงองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และโครงการอาหารโลก (WFP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Report on Food Crises 2021 Global Report on Food Crises 2020 Global Report on Food Crises 2017 The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021

  • Regional Action Agenda on Achieving the. Sustainable Development Goals in the Western Pacific

    รายงาน “Regional action agenda on achieving the sustainable development goals in the Western Pacific” ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้คำแนะนำแก่ทุกระดับของการดำเนินงานด้านการพัฒนาในประเทศสมาชิกที่จะขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายและเป้าประสงค์ที่เกี่ยวกับประเด็นด้านสุขภาพในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (health-related targets of the SDGs) หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The Costs of Achieving the Sustainable Development Goals Achieving the Sustainable Development Goals through Tourism – Toolkit of Indicators for Projects (TIPs) GCED: Taking It Local in […]

  • ASEAN Sustainable Urbanisation Report

    รายงาน “ASEAN Sustainable Urbanisation Report” ฉายภาพความหลากหลายของบริบทเมืองในประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความสำคัญของเมืองรอง (Secondary Cities) ที่เพิ่มขึ้นและความจำเป็นในการเสริมสร้างศักยภาพของเมืองเหล่านี้อย่างเต็มที่ รายงานนี้มุ่งหวังส่งเสริมความเข้าใจถึงโอกาสและความท้าทายของการพัฒนาเมืองและเน้นวิธีการที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจะทำงานร่วมกันเพื่อกำหนดอนาคตเมืองที่ยั่งยืน     หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Regional Energy Trends Report 2020: Tracking SDG 7 in the ASEAN Region The 2022 ASEAN SDG Snapshot Report ASEAN SDG Indicators Baseline Report 2020 SDG 7 Localization: Affordable and Clean Energy in ASEAN […]

  • Progress on Wastewater Treatment – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.1

    รายงานติดตามความก้าวหน้าสถานการณ์การบำบัดน้ำเสียของโลก หรือการติดตามตัวชี้วัดย่อยที่ 6.3.1 สัดส่วนของน้ำเสียจากครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่ได้รับการบำบัดอย่างปลอดภัยในปี 2018 โดยเป็นหนึ่งในรายงานชุดที่เกี่ยวข้องกับการติดตามสถานการณ์น้ำสะอาด และสุขาภิบาลของโลก หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Water-related Ecosystems – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.6.1 Progress on Ambient Water Quality – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.2 Progress on Wastewater Treatment – […]

  • คู่มือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน สำหรับบริษัทจดทะเบียนไทย

    “คู่มือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน สำหรับบริษัทจดทะเบียนไทย” (SDG Guidebook for Thai Listed Companies) เป็นแนวปฏิบัติสำหรับบริษัทจดทะเบียนไทยในการผนวกแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เข้ากับกลยุทธ์และการดำเนินธุรกิจขององค์กร รวมทั้งเสนอเครื่องมือเครื่องมือการวัดผลและการจัดการผลกระทบ (Impact Measurement and Management – IMM) ด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีจุดประสงค์เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืนที่สอดคล้องกับข้อกำหนดในแบบการเปิดเผยข้อมูล 56-1 One Report ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)     หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ โครงการเพื่อการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ประจำประเทศไทย ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยและอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Joint External Evaluation Tool: International Health Regulations (2005)-First Edition United Nations Common Guidance on Helping Build Resilient […]

  • Operational Framework for Building Climate Resilient and Low Carbon Health

    เอกสาร “Operational Framework for Building Climate Resilient and Low Carbon Health” เป็นกรอบปฏิบัติการด้านการดำเนินงานขององค์การอนามัยโลกที่มุ่งเน้นไปที่การยกระดับความสามารถในการตั้งรับปรับตัวต่อสภาพภูมิอากาศของระบบสุขภาพและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและการใช้กลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายในการออกแบบระบบสุขภาพเชิงปฏิรูปที่สามารถให้บริการดูแลรักษาที่ปลอดภัยและมีคุณภาพได้แม้ว่าอยู่ในภาวะที่สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Thailand Economic Monitor 2023 | Building a Resilient Future: Coping with Droughts and Floods WHO Guidance for Climate Resilient and Environmentally Sustainable Health Care Facilities WHO Technical Guidance Notes on Sendai Framework Reporting […]

  • รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2560 (2017 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development)

    รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2560 (2017 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) หรือรายงาน VNR นำเสนอความก้าวหน้า อุปสรรค และประสบการณ์ในการขับเคลื่อน SDGs ของประเทศไทย   หน่วยงานที่จัดทำ: กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ดาวน์โหลด : เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ ภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda […]

  • เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2566

    รวมเอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ภายในปี พ.ศ. 2566   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทย ที่นี่ Related posts: เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2559 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2560 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2561 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2562

  • Bracing for Superbugs: Strengthening Environmental Action in the One Health Response to Antimicrobial Resistance

    รายงาน “Bracing for Superbugs: Strengthening Environmental Action in the One Health Response to Antimicrobial Resistance” นำเสนอข้อมูลเชิงประจักษ์ที่บ่งชี้ว่า สิ่งแวดล้อมมีบทบาทสำคัญต่อการก่อตัว การแพร่เชื้อ และการติดเชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial Resistance: AMR) ซึ่งแนวทางในการรับมือปัญหานี้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ตามแนวทาง “One Health” ซึ่งเป็นแนวทางแบบบูรณาการที่มองเห็นว่าสุขภาพของคน สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด แนวทางนี้จึงจำเป็นในการแก้ไขปัญหาเชื้อโรคดื้อยา     หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Strengthening National Indicator Frameworks to Drive National SDG Implementation: […]

  • Strategy Paper on Nature-based Solutions to Build Climate Resilience in Informal Areas

    เอกสาร “Strategy Paper on Nature-based Solutions to Build Climate Resilience in Informal Areas” พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยและข้อมูลจากโครงการเชิงปฏิบัติการที่ใช้การแก้ปัญหาที่มีธรรมชาติเป็นพื้นฐาน (Nature-based Solutions: NbS) เพื่อการปรับตัวและสร้างความสามารถในการตั้งรับปรับตัวต่อผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้แก่พื้นที่ที่อยู่อาศัยแออัดเพื่อให้เข้าใจถึงศักยภาพในการดำเนินการขยายขนาดและความท้าทายได้ดียิ่งขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการศึกษาที่ประโยชน์ในการสร้างความสามารถลดความเสี่ยง จัดการกับความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับคนยากจนในเขตเมืองและแก่สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN HABITAT) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Synergy Solutions for a World in Crisis: Tackling Climate and SDG Action Together United Nations Common Guidance on Helping Build Resilient Societies Reflect–Share–Act: A Guide […]

  • SDGs Mega Trends 2021: COVID-19 and a Great Reset to SDGs in Action

    รายงาน “SDGs Mega Trends 2021” นำเสนอ 5 แนวโน้มสำคัญเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนปี ค.ศ. 2021” ที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก โดยคัดเลือกประเด็นเด่น 5 ประเด็นเกี่ยวกับความยั่งยืนจากแหล่งข้อมูลชั้นนำทั่วโลกที่ควรให้ความสำคัญในปีดังกล่าว เพื่อสร้างความตระหนักและแรงบันดาลใจให้ภาคเอกชนร่วมขับเคลื่อนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)     หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: World Employment and Social Outlook: Trends 2021 Implications of the COVID-19 Pandemic for Commercial Contracts Covering the Transportation of Goods in the Asia-Pacific Region and Beyond Progress on Drinking Water, Sanitation and […]

  • Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools 2015-2023: Special Focus on Menstrual Health

    รายงาน “Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools 2015-2023: Special Focus on Menstrual Health” นำเสนอข้อมูลสถานการณ์น้ำสะอาด สุขาภิบาล และสุขอนามัย (Wash and Sanitation, Hygiene) ในโรงเรียนจนถึงปีค.ศ. 2023 ทั้งระดับชาติ ภูมิภาค และระดับโลก โดยมุ่งเน้นเป็นพิเศษเรื่องสุขอนามัยขณะมีประจำเดือน   หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19 […]

  • World Employment and Social Outlook: Trends 2020

    รายงานฉบับนี้ได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ด้านแรงงานโดยภาพรวมของโลกในปี 2020 ตั้งแต่แนวโน้มลักษณะของตลาดแรงงาน อัตราการว่างงาน และความเสี่ยงอื่น ๆ ต่อการจ้างงานที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของการจ้างงาน เทคโนโลยี และโครงสร้างประชากร หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Employment and Social Outlook: Trends 2018 World Employment and Social Outlook: Trends 2019 World Employment and Social Outlook: Trends 2021 World Social Protection Report 2020-22

  • Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวม (IWRM) ของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.5 ดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวมในทุกระดับ ความร่วมมือระหว่างเขตแดนตามความเหมาะสมภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.5.1 ระดับการดำเนินงานการจัดการทรัพยากรน้ำ หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems […]