Sorting:
Sort Ascending
  • World Happiness Report 2025

    รายงาน “World Happiness Report 2025” จัดอันดับประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก โดยใช้ข้อมูลจาก Gallup World Poll และแหล่งข้อมูลอื่น ๆ โดยฉบับปีพ.ศ. 2568 (ค.ศ.​ 2025) กล่าวถึงวัยหนุ่มสาวทั่วโลกกว่า 19% ระบุว่าไม่มีใครให้พึ่งพิงทางสังคม ซึ่งเป็นตัวเลขที่เพิ่มขึ้นกว่า 39% จากปี 2006   หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025 Global Risks Report 2025 World Happiness Report 2017 World Happiness Report 2018

  • World Health Statistics 2018: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World health statistics 2018: monitoring health for the SDGs, sustainable development goals” เน้นประเด็นด้านสุขภาพ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสุขภาพ เป้าประสงค์หรือเป้าหมายย่อยที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นการรวบรวมข้อมูลดัชนีของ SDGs ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสุขภาพ (health-related SDG indicators) ทั้งนี้ รายงานดังกล่าวยังเชื่อมโยงกับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ 3 อันดับต้นของแผนงาน 13th General Programme of Work 2019-2023 ขององค์การอนามัยโลก   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development […]

  • World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World health statistics 2020: monitoring health for the SDGs, sustainable development goals” สรุปแนวโน้มล่าสุดเรื่องอายุขัยของคน (life expectancy) และรายงานความคืบหน้าของการดำเนินงานที่เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพ ตลอดจนเป้าหมายและเป้าประสงค์อื่นที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพ   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2018: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2023: […]

  • World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World Health Statistics 2021: monitoring health for the SDGs, sustainable development goals” เป็นการรวบรวมข้อมูลล่าสุดด้านสุขภาพและตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับด้านสุขภาพสำหรับประเทศสมาชิกทั้งหมด 194 ประเทศ นอกจากนี้ ยังเน้นย้ำประเด็นผลกระทบและความสูญเสียจากการระบาดของโควิด-19 โดยการที่จะฟื้นฟูกลับมาต้องพึ่งพิงการมีข้อมูลจำนวนมากและระบบข้อมูลด้านสุขภาพ   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2018: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics […]

  • World Health Statistics 2023: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World health statistics 2023: monitoring health for the SDGs, sustainable development goals” เป็นรายงานความก้าวหน้าตัวชี้วัดด้านสุขภาพประจำปีที่จัดทำมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 โดยในฉบับปี 2023 นี้ จะเป็นการทบทวนสถานะล่าสุดของตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Indicators) ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพมากกว่า 50 ตัวชี้วัดที่อยู่ในเป้าหมายต่าง ๆ และสถานะตามแผนการดำเนินงานขององค์การอนามัยโลก ฉบับที่ 13 (The Thirteenth General Programme of Work: GPW 13) ของทุกประเทศทั่วโลก จากข้อมูลจนถึงปี 2022 ตอกย้ำให้เห็นถึงความซบเซาของความก้าวหน้าด้านสุขภาพจากตัวชี้วัดด้านสุขภาพที่สำคัญในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาเมื่อเทียบกับแนวโน้มที่เห็นในช่วงปี 2000-2015   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: World Health […]

  • World Health Statistics 2024: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World Health Statistics 2024: Monitoring Health for the SDGs, sustainable development goals” เป็นรายงานความก้าวหน้าตัวชี้วัดด้านสุขภาพประจำปีที่จัดทำมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 โดยในฉบับปี 2024 นี้ จะเป็นการทบทวนสถานะล่าสุดของตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Indicators) ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพมากกว่า 50 ตัวชี้วัดที่อยู่ในเป้าหมายต่าง ๆ และสถานะตามแผนการดำเนินงานขององค์การอนามัยโลก ฉบับที่ 13 (The Thirteenth General Programme of Work: GPW 13) ของทุกประเทศทั่วโลก พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลกระทบของโควิด-19 ที่ทำให้แนวโน้มความก้าวหน้าที่ดีขึ้นของอายุขัยคาดเฉลี่ยแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีถอยหลังลง   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring […]

  • World Inequality Report 2022

    รายงาน “World Inequality Report 2022” นำเสนอข้อมูลและสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำโลกล่าสุดและครอบคลุมที่สุด ที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ ทั้งมิติความเหลื่อมล้ำของความมั่งคั่ง รายได้ เพศ และทางนิเวศวิทยา (ecological) โดยเป็นผลลัพธ์จากการทำงานจากนักวิจัยกว่าร้อยคนในระยะเวลาสี่ปีจากทุกทั่วโลกที่ร่วมกันพัฒนาฐานข้อมูลความเหลื่อมล้ำโลก (World Inequality Database: WID.world)   หน่วยงานที่จัดทำ: World Inequality Lab ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Wage Report 2014 / 15 Wages and income inequality Global Wage Report 2016/17: Wage inequality in the workplace Women as Agents of Change for Greening Agriculture and Reducing Gender Inequality […]

  • World Population Prospects 2024: Summary of Results

    รายงาน “World Population Prospects 2024: Summary of Results” เป็นรายงานสรุปผลการประมาณการและการคาดการณ์ประชากรโลกอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ โดยใช้ข้อมูลประชากรจาก 237 ประเทศ/รัฐทั่วโลก ตั้งแต่ปีค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน โดยรายงานฉบับนี้ยังได้คาดการณ์จำนวนและสถานการณ์ประชากรไปจนถึงปีค.ศ. 2100 โดยคำนึงถึงผลลัพธ์ที่เป็นไปได้หลายกรณีในระดับโลก ภูมิภาค และระดับชาติ   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานกิจการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ ((United Nations Department of Economic and Social Affairs: UN DESA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Economic Situation and Prospects 2024 State of World Population 2017 State of World Population 2016 State of World Population […]

  • World Press Freedom Index

    ดัชนี “World Press Freedom Index” จัดอันดับดัชนีเสรีภาพสื่อมวลชนประจำปี โดยเป็นการประเมินจากข้อมูลจาก 180 ประเทศทั่วโลก ผ่านการตอบแบบสอบถามของทั่งสื่อมวลชน นักกฎหมาย และนักสังคมวิทยา ร่วมกับพิจารณาข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับการละเมิดและการกระทำอันรุนแรงต่อนักข่าวในช่วงเวลาที่ประเมิน เกณฑ์ที่พิจารณาในแบบสอบถาม ได้แก่ ความเป็นอิสระของสื่อมวลชน สภาพแวดล้อมของสื่อมวลชนและการเซ็นเซอร์ตัวเอง กรอบกฎหมาย ความโปร่งใส และคุณภาพของโครงสร้างพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิตข่าวสาร จัดทำขึ้นมาตั้งปี 2002   หน่วยงานที่จัดทำ: Reporters Without Borders (RSF) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: รายการ “เราปรับ…โลกเปลี่ยน” We Shift…World Change ตอน SDGs Talk World Social Report 2023 | Leaving No One Behind in an Ageing World 2019 SDG Index for […]

  • World Public Sector Report 2023

    รายงาน “World Public Sector Report 2023” นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับการดำเนินงานของภาครัฐในระดับโลก ภายใต้ธีม Transforming institutions to achieve the Sustainable Development Goals after the pandemic เพื่อศึกษาบทบาทของนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงด้านสถาบันและการกำกับดูแลที่เกิดขึ้นอันเป็นผลจากการระบาดของโควิด-19 ในระดับประเทศ ในการส่งเสริมความก้าวหน้าสู่วาระการพัฒนาอย่างยั่งยืน ค.ศ. 2030     หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานกิจการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (UN DESA) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: Rethinking Public Debt for the Sustainable Development Goals Guide to Sustainable Tourism. Challenges […]

  • World Social Protection Report 2017-19

    Universal social protection to achieve the Sustainable Development Goals รายงานการคุ้มครองทางสังคมของโลก 2560 – 2562 รวบรวมข้อมูลระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับโลกล่าสุด รวมถึงแนวโน้มระบบการคุ้มครองทางสังคม การคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน (social protection floors) และการใช้จ่ายของงบประมาณภาครัฐ  อาทิ นโยบายที่เกี่ยวกับวัยแรงงานผู้หญิงและผู้ชาย การให้กำเนิดบุตร การจ้างงานผู้พิการและผู้ที่เจ็บป่วย การว่างงาน ผู้สูงอายุและเงินบำนาญ รวมถึงหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า รายงานฉบับนี้เป็นแหล่งข้อมูลเชิงสถิติสำหรับตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.3.1 หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2020: Monitoring […]

  • World Social Protection Report 2020-22

    Social protection at the crossroads – in pursuit of a better future รายงานการคุ้มครองทางสังคมของโลก 2563 – 2565 รวบรวมข้อมูลระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับโลกล่าสุด รวมถึงแนวโน้มระบบการคุ้มครองทางสังคม การคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน (social protection floors) และการใช้จ่ายของงบประมาณภาครัฐ  อาทิ นโยบายที่เกี่ยวกับวัยแรงงานผู้หญิงและผู้ชาย การให้กำเนิดบุตร การจ้างงานผู้พิการและผู้ที่เจ็บป่วย การว่างงาน ผู้สูงอายุและเงินบำนาญ รวมถึงหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และที่สำคัญคือผลกระทบของโควิด-19 ที่มีต่อมาตรการคุ้มครองทางสังคม รายงานฉบับนี้เป็นแหล่งข้อมูลเชิงสถิติสำหรับตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.3.1 หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Social Protection Report 2017-19 World Health Statistics 2020: Monitoring Health for […]

  • World Social Report 2023 | Leaving No One Behind in an Ageing World

    รางาน “World Social Report 2023” มาในธีม Leaving No One Behind in an Ageing World แสดงสถานการณ์ของผู้สูงอายุ และประเด็นความเชื่อมโยงระหว่างความสูงวัยของประชากรและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) รวมถึงมิติทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ทั้งความยากจน ความเหลื่อมล้ำ การดูแลสุขภาพ และการบริบาลในระยะยาวของผู้สูงวัย     หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานกิจการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (UN DESA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่     Related posts: The Role of Volunteers in Leaving No One Behind: Supporting United Nations Entities and National Governments towards Realizing the 2030 Agenda for Sustainable […]

  • กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    สำนักเลขาธิการ UNFCCC (การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติ) ก่อตั้งขึ้นในปี 1992 เมื่อ 197 ประเทศรับรองกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) โดบทำงานในฐานะหน่วยงานของสหประชาชาติที่ได้รับมอบหมายให้รับมือต่อการคุกคามของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Related posts: No related posts.

  • กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

    IMF ทำงานส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจและการจ้างงานด้วยการให้ความช่วยเหลือทางการเงินชั่วคราวและความช่วยเหลือด้านเทคนิคแก่ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบัน IMF มียอดสินเชื่อคงค้างใน 74 ประเทศ ถึง 28,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ Related posts: กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  • การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดย กลต.

    การนำเสนอ ” การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดย กลต.” ให้แผนการทำงานของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดยเน้นไปที่บริษัทและธุรกิจที่อยู่ในตลาดหุ้นและตลาดทุน   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) SDGs กับเกษตรกร SDGs กับชีวิตคนเมือง

  • การนำโรงเรียนไปสู่ทุกคน – การจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสใน “โรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา” จังหวัดแม่ฮ่องสอน

    รายงาน “การนำโรงเรียนไปสู่ทุกคน – การจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสใน “โรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา” จังหวัดแม่ฮ่องสอน” ((Bringing the School to the Students: Education Provision for Disadvantaged Children in the ‘District Schools’ of Mae Hong Son Province) นำเสนอข้อมูลประวัติความเป็นมา บทเรียนที่ได้รับจากการทำโครงการ “โรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา” ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่เครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็กเครือข่ายอื่น ๆ โดยเป็นบทเรียนเฉพาะจากพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นจังหวัดที่ยากจนที่สุดในประเทศไทย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ และเอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Agricultural Trade & Policy Responses During the First Wave of the COVID-19 Pandemic in […]

  • การประกันภัยที่ทุกคนเข้าถึงได้และการเงิน เพื่อการบริหารความเสี่ยงในประเทศไทย ภาพรวมและทิศทาง พ.ศ. 2566

    รายงาน “การประกันภัยที่ทุกคนเข้าถึงได้และการเงิน เพื่อการบริหารความเสี่ยงในประเทศไทย ภาพรวมและทิศทาง พ.ศ. 2566” (Inclusive Insurance and risk financing in Thailand: Snapshot and way forward 2023) สรุปข้อค้นพบที่สำคัญของการประกันภัยและการเงินเพื่อความเสี่ยงจากภัยพิบัติแบบครอบคลุมของประเทศไทย โดยเฉพาะความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศ     หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ประจำประเทศไทย และ Insurance and Risk Finance Facility (IRFF) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2566 Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Zambia Joint External […]

  • การประเมินการเงินเพื่อการพัฒนาสำหรับประเทศไทย

    รายงาน “การประเมินการเงินเพื่อการพัฒนาสำหรับประเทศไทย” (Development Finance Assessment for Thailand) นำเสนอรายละเอียดของกระแสการเงินในปัจจุบัน ที่ทำให้สามารถระบุถึงความต้องการด้านการเงินเพื่อเพื่อสนับสนุนวาระการพัฒนาของประเทศไทยและเพื่อความก้าวหน้าสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) โดยครอบคลุมประเด็นสำคัญได้แก่ (1) การส่งเสริมความเท่าเทียม (2) การแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (3) การสร้างงานเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่การพัฒนาที่ทั่วถึงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (4) การเสริมสร้างประสิทธิภาพภาคสาธารณสุข และ (5) การใช้ประโยชน์จากการเงินดิจิทัลเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยและอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Joint external evaluation of IHR core capacities of Mongolia Regional Action Agenda on Achieving the. Sustainable Development Goals in the Western Pacific FAO’s Work With […]

  • การประเมินผลกระทบรวมด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย

    รายงาน “การประเมินผลกระทบรวมด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย” (Socio-Economic Impact Assessment of COVID-19 in Thailand) ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากผลการศึกษา การสำรวจ และการประเมินต่าง ๆ ซึ่งจัดทำโดยหน่วยงานสหประชาชาติในประเทศไทย เพื่อศึกษาผลกระทบที่รุนแรงจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และสรุปกรอบนโยบายที่สำคัญเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการฟื้นฟูต่อไป   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ร่วมกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและธนาคารพัฒนาเอเชีย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย โดย กลต. World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of […]