Sorting:
Sort Descending
  • South-South and Triangular Cooperation In Action

    – Sexual and Reproductive Health รายงานฉบับนี้นำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนาหรือความร่วมมือใต้ – ใต้ (South-South) ในประเด็นสิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ความเท่าเทียมระหว่างเพศ การเสริมพลังอำนาจแก่เยาวชน และข้อมูลประชากรเพื่อการพัฒนา โดยรวมถึงกรณีศึกษาในด้าน อาทิ การวางแผนครอบครัว สุขภาพมารดาและเด็ก และพยาบาลผดุงครรภ์ ทั้งนี้ เพื่อเป็นข้อมูลหรือแนวทางให้สามารถเลือกนำไปใช้ประกอบการส่งเสริมการพัฒนาความร่วมมือใต้-ใต้ในประเด็นเหล่านี้ หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2 Joint External Evaluation of IHR […]

  • On Behalf of My Delegation: A Survival Guide for New and Lonely Climate Change Negotiators

    หนังสือ “”On Behalf of My Delegation: A Survival Guide for New and Lonely Climate Change Negotiators”” เขียนโดย Joyeeta Gupta และ Jennifer Allan สรุปบริบทการเจรจาต่อรองในประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการวิเคราะห์ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วิวัฒนาการของระบอบสภาพภูมิอากาศระหว่างประเทศ (international climate regime) และองค์กรภายในระบอบ เนื้อหาครอบคลุมกฎระเบียบ รัฐและผู้มีส่วนร่วมที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงกลุ่มต่างๆ ในระบอบการเจรจาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น กลุ่ม G-77 และจีน ผู้เขียนยังนำเสนอกลยุทธ์ในการรับมือและ “เคล็ดลับ” สำหรับผู้เจรจาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงการเน้นทักษะการเจรจาที่จำเป็น และเสริมด้วยคำแนะนำสำหรับ “ตัวแทนเจรจาทางการทูตด้านสภาพภูมิอากาศผู้โดดเดี่ยว” (Lonely Climate Change Negotiator) ที่มักเป็นผู้แทนเพียงคนเดียวจากประเทศกำลังพัฒนาในเวทีระดับโลกโดยเฉพาะ หนังสือเล่มนี้เป็นฉบับอัปเดตจากฉบับแรกที่ตีพิมพ์เมื่อปี 2000 โดยปรับปรุงเนื้อหาจากการวิจัยติดตามผลและการสังเกตกระบวนการเจรจาของผู้เขียน   หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันนานาชาติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (International Institute […]

  • Sustainable Development Goals Report 2020

    รายงานเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs Report) ประจำปี 2020 นำเสนอภาพรวมของการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 เป้าหมาย ที่ทำให้เห็นว่าแม้ว่าจะไม่มีผลกระทบจาก COVID-19 แต่ละประเทศก็มีความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไม่เท่ากัน และด้วยวิกฤตด้านสาธารณสุขครั้งนี้ที่ส่งผลต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ก็ยิ่งทำให้การบรรรลุเป้าหมายให้ทันภายในปี 2030 มีความท้าทายมากยิ่งขึ้น   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การสหประชาชาติ (United Nations) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) Europe Sustainable Development Report 2020 Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: […]

  • SDG Index and Dashboards 2018

    รายงาน “SDG Index and Dashboards 2018” นำเสนอดัชนี SDG (SDG Index) และ Dashboards ที่จะช่วยชี้ประเด็นลำดับความสำคัญในการดำเนินการเพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)   หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ Bertelsmann Stiftung ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Africa SDG Index and Dashboards 2018 2020 Africa SDG Index and Dashboards Report 2019 Arab Region SDG Index and Dashboards Report 2019 Africa SDG Index and Dashboards Report

  • รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2564-2565

    รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ.​ 2564-2565   หน่วยงานที่จัดทำ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563-2564 รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2562-2563 Municipal Atlas of the SDGs in Bolivia 2020 Infodemic and SDGs: Internet Freedoms in Southeast Asia

  • The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021

    รายงานสำรวจวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติ ที่กระทบต่อภาคการเกษตรและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ การปศุสัตว์ การป่าไม้ การประมง และการเพาะเลี้ยงสัตว์และพืชน้ำ ทั้งในลักษณะที่เกิดถี่ขึ้นและรุนแรงขึ้น โดยได้ประเมินความเสียหายและความสูญเสียของภาคเกษตรกรรม ในขณะที่ภาคเกษตรกรรมเป็นแหล่งความมั่นคงทางอาหารและการพัฒนาที่สำคัญ โดยเฉพาะสำหรับประเทศกำลังพัฒนาที่มีรายได้ต่ำ หน่วยงานที่จัดทำ:องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Report on Food Crises 2021 The State of Food and Agriculture 2021 The State of Food Security and Nutrition in the World 2021 Global Report on Food Crises 2020

  • The Cost of Inaction: Quantifying the Impact of Climate Change on Health in Low- and Middle-Income Countries

    รายงาน “The Cost of Inaction: Quantifying the Impact of Climate Change on Health in Low- and Middle-Income Countries” ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อประเด็นสุขภาพในประเทศรายได้ต่ำและปานกลาง (LMICs) โดยประเมินผลกระทบจากโรคที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ เช่น โรคที่เกิดจากยุงและน้ำ การขาดสารอาหาร และอุณหภูมิความร้อนที่สูงเกินไป พร้อมทั้งคำนวณต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต รายงานนี้ครอบคลุม 69 ประเทศใน LMICs และประเมินผลกระทบในช่วงปี 2026-2100 ตามสองสถานการณ์เศรษฐกิจ (SSP3 และ SSP2) โดยเรียกร้องให้มีการดำเนินการเร่งด่วนเพื่อลดผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ   หน่วยงานที่จัดทำ: ธนาคารโลก (World Bank) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Global Hepatitis Report 2024: Action for Access in Low- and […]

  • Thailand Economic Monitor 2023 | Building a Resilient Future: Coping with Droughts and Floods

    รายงาน “Thailand Economic Monitor” หรือ รายงานตามติดเศรษฐกิจไทยประจำเดือนมิถุนายน 2566 ในหัวข้อ ‘การรับมือกับภัยแล้งและอุทกภัย เพื่อสร้างอนาคตที่อยู่รอดและยั่งยืน’ ให้ข้อมูลการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจไทยในปี 2566 ที่ดีขึ้น แต่ยังคงระบุว่าการรับมือกับความเสี่ยงจากอุทกภัยและภัยแล้งเป็นกุญแจสำคัญสำหรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของประเทศไทย     หน่วยงานที่จัดทำ: ธนาคารโลก (World Bank) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษและบทสรุปผู้บริหารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: The Future of Asia & Pacific Cities 2023: Crisis Resilient Urban Futures Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: Rethinking Public Debt for the Sustainable Development Goals Thailand Public […]

  • State of World Population 2020

    – Defying the practices that harm women and girls and undermine equality รายงานฉบับนี้อธิบายสถานการณ์ของเด็กผู้หญิงที่เผชิญกับการปฏิบัติซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกายและจิตใจ โดยที่ครอบครัว เพื่อน และชุมชนต่างรับรู้แต่กลับมองว่าเป็นเรื่องปกติในสังคม สถานการณ์เช่นนี้เป็นการปิดกั้นโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา สิทธิในอนามัยเจริญพันธุ์ และการใช้สิทธิเพื่อปกป้องตนเองของเด็กผู้หญิง รายงานรายปี State of World Population จัดทำโดยกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) เผยแพร่มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1978 เป็นรายงานที่เน้นประเด็นใหม่ด้านความท้าทายและโอกาสของสิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในการพัฒนาระหว่างประเทศ หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: State of World Population 2021 State of World Population 2019 The […]

  • คู่มือกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม

    “คู่มือกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม” ให้ข้อมูลรายละเอียดของ ‘กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม’ ซึ่งเดิมคือกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หลังคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 ซึ่งจะมีหน้าที่รับผิดชอบ ภารกิจด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมของประเทศโดยตรง     หน่วยงานที่จัดทำ: กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่     Related posts: Communities in Action – Lifelong Learning for Sustainable Development Preparing Teachers for Global Citizenship Education: A Template คู่มือประกอบการฝึกอบรมว่าด้วย การตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน SDG Impact Assessment Tool

  • Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025

    รายงาน “Asia and the Pacific SDG Progress Report 2025: Engaging communities to close the evidence gap” แสดงความก้าวหน้าของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยได้นำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก พร้อมเน้นย้ำว่าความคืบหน้าในการบรรลุเป้าหมาย SDGs   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Asia and the Pacific SDG Progress Report 2021 Asia and the Pacific SDG Progress Report 2022 Asia and the Pacific SDG Progress Report 2024 World Happiness […]

  • เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2559

    รวมเอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ภายในปี พ.ศ. 2559   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทย ที่นี่ Related posts: เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2558 2019 Europe Sustainable Development Report Implications of the COVID-19 Pandemic for Commercial Contracts Covering the Transportation of Goods in the Asia-Pacific Region and Beyond Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Liberia

  • World Employment and Social Outlook: Trends 2021

    รายงานฉบับนี้ได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ด้านแรงงานโดยภาพรวมของโลกในปี 2021 ตั้งแต่แนวโน้มลักษณะของตลาดแรงงาน อัตราการว่างงาน และความเสี่ยงอื่น ๆ ต่อการจ้างงานที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของการจ้างงาน เทคโนโลยี และโครงสร้างประชากร นอกจากนั้น รายงานฉบับนี้ได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงาน หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Employment and Social Outlook: Trends 2018 World Employment and Social Outlook: Trends 2019 World Employment and Social Outlook: Trends 2020 World Employment and Social Outlook: Trends 2024

  • เป้าหมายที่ 7 ทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ที่ยั่งยืนในราคาย่อมเยา (SDG 7: Affordable and clean energy)

    ในห้วงเกือบสองทศวรรษที่ผ่านมา ประชากรโลกสามารถเข้าถึงไฟฟ้าเพิ่มขึ้นประมาณ 1,700 ล้านคนทั่วโลก และยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีความต้องการใช้พลังงานราคาถูกมากขึ้น ในขณะที่ภาคเศรษฐกิจที่พึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างรุนแรง ดังนั้น การดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ 7 ภายในปี 2573 จึงจำเป็นต้องมีการลงทุนในแหล่งพลังงานสะอาด อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานความร้อน รวมทั้งการเพิ่มผลิตภาพพลังงาน และการสร้างหลักประกันการเข้าถึงพลังงานโดยถ้วนหน้า โดยการขยายโครงสร้างพื้นฐานและยกระดับเทคโนโลยีในการผลิตพลังงานที่สะอาดและมีประสิทธิภาพมากขึ้นในทุกประเทศจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจและรักษาสิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: เป้าหมายที่ 6 การจัดการน้ำและการสุขาภิบาลที่ยั่งยืน (SDG 6: Clean water and sanitation) เป้าหมายที่ 5 บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรีและเด็กหญิง (SDG 5: Gender equality) เป้าหมายที่ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (SDG 13: Climate action) เป้าหมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์มหาสมุทรและทรัพยากรทะเลอย่างยั่งยืน (SDG 14: […]

  • บทบาทของรัฐสภาในการนำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปปฏิบัติ

    คู่มือ “บทบาทของรัฐสภาในการนำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปปฏิบัติ” (Parliament’s role in Implementing the Sustainable Development Goals) ได้รับการพัฒนาเพื่อให้สมาชิกรัฐสภานำไปใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของรัฐสภาในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ประจำประเทศไทย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ และภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: WHO Guidance for Climate Resilient and Environmentally Sustainable Health Care Facilities International Health Regulations (IHR): Joint External Evaluation (JEE): Country Implementation Guide แนวทางการจัดทำแผนอาหารและโครงการระบบอาหารในระดับชุมชนท้องถิ่น Online Employability Resources for Youth 2021

  • เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2563

    รวมเอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ภายในปี พ.ศ. 2563   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทย ที่นี่ Related posts: เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2558 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2559 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2560 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2561

  • Climate Finance Landscape of Asia and the Pacific

    รายงาน “Climate Finance Landscape of Asia and the Pacific” ประเมินภาพรวมสถานการณ์การเงินเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก และวิเคราะห์แนวทางที่ประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคสามารถใช้ประโยชน์จากเงินทุนเหล่านี้เพื่อขยายการดำเนินงานด้านสภาพภูมิอากาศและกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รายงานฉบับนี้ยังชี้ให้เห็นช่องว่างทางการเงิน เสนอแนะการพิจารณาแนวทางเพิ่มการลงทุนสำหรับการแก้ปัญหาสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้เงินทุนเหล่านี้ไปถึงยังประเทศและภาคส่วนที่ต้องการมากที่สุด     หน่วยงานที่จัดทำ: ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Sustainable Finance: Bridging the Gap in Asia and the Pacific Climate Change and Climate Finance: Current Experience and Future Directions The Race to Net Zero: Accelerating Climate […]

  • Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap for Georgia

    รายงาน “Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap for Georgia” นำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงานของประเทศจอร์เจีย โดยใช้เครื่องมือ National Expert SDG Tool for Energy Planning (NEXSTEP) ซึ่งออกแบบโดย ESCAP ในการกำหนดนโยบายสามารถตัดสินใจการออกนโยบายได้ที่เหมาะสม รวมถึงเป็นการช่วยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน #SDG7 ซึ่งรวมไปถึงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเทศ (NDCs) ด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG […]

  • Study Report for Transitioning to Electric Public Buses in Thailand

    รายงานการศึกษา “Study report for transitioning to electric public buses in Thailand” เก็บรวบรวมข้อมูลด้านนโยบายรถยนต์ไฟฟ้าและการดำเนินธุรกิจรถโดยสารสาธารณะ และศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนมาใช้รถโดยสารไฟฟ้าในประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการเร่งการเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบขนส่งสาธารณะและสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการดำเนินการตามข้อตกลงปารีส (Paris Agreement)   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ร่วมกับ ศูนย์วิจัย Mobility & Vehicle Technology Research Center (MOVE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: GCED: Taking It Local in Asia-Pacific – A Regional Study on GCED […]

  • Thailand & Sustainable Development Goals guided by Sufficiency Economy Philosophy (SEP) and accelerated through BCG Economic Model

    เอกสาร “Thailand & Sustainable Development Goals guided by Sufficiency Economy Philosophy (SEP) and accelerated through BCG Economic Model” นำเสนอกรอบแนวทางของประเทศไทยในการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่ขับเคลื่อนด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) และเร่งรัดความสำเร็จผ่านโมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (BCG) แยกตามรายมิติ ทั้ง 5 มิติ ได้แก่ มิติสังคม (People) มิติเศรษฐกิจ (Prosperity) มิติสิ่งแวดล้อม (Planet) มิติสันติภาพและสถาบัน (Peace) และมิติหุ้นส่วนการพัฒนา (Partnership)     หน่วยงานที่จัดทำ: กระทรวงการต่างประเทศ ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Thailand’s BCG Transformation – 40 case studies on […]