Sorting:
Sort Descending
  • Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวม (IWRM) ของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.5 ดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวมในทุกระดับ ความร่วมมือระหว่างเขตแดนตามความเหมาะสมภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.5.1 ระดับการดำเนินงานการจัดการทรัพยากรน้ำ หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems […]

  • Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2020

    รายงานสถานการณ์และข้อมูลของการเข้าถึงน้ำสะอาด ปลอดภัย การมีสุขาภิบาล และมีระบบจัดการที่ถูกสุขอนามัยของโลก ตั้งแต่ช่วงปี 2000 – 2020 และการประเมินสถานการณ์สำหรับการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 6 สร้างหลักประกันเรื่องน้ำและการสุขาภิบาลให้มีการจัดการอย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อมใช้สำหรับทุกคน นอกจากนั้น ถือเป็นรายงานฉบับแรกที่ได้รวมเรื่องการจัดการสุขอนามัยประจำเดือน หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (WHO)/ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2017 Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19 Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene 2017 Progress on […]

  • Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2017

    รายงานสถานการณ์ของครัวเรือนที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงน้ำดื่ม ระบบสุขาภิบาล และการมีสุขอนามัยที่ดี ระหว่างปี 2000 – 2017 โดยเน้นไปที่ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงในประเด็นดังกล่าวตั้งแต่ระดับประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก พร้อมทั้งวิเคราะห์ความเสี่ยงของกลุ่มเป้าหมายที่อาจถูกทิ้งไว้ข้างหลังจากการพัฒนา หน่วยงานที่จัดทำ:องค์การอนามัยโลก (WHO)/ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2020 Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene 2017 Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19 UN-Water GLAAS 2017 Report: Financing Universal […]

  • Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19

    รายงานการติดตามสถานการณ์การเข้าถึงน้ำสะอาด ปลอดภัย การมีสุขาภิบาล และมีระบบจัดการที่ถูกสุขอนามัยในโรงเรียน ตั้งแต่ปี 2000 – 2020 ติดตามความคืบหน้าการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ผ่านข้อมูลการติดตามในระดับประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก พร้อมทั้งข้อเสนอแนะสำคัญในช่วงสถานการณ์การแพร่ระชาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 หน่วยงานที่จัดทำ:องค์การอนามัยโลก (WHO)/ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Global Baseline Report 2018 Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2020 Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2017 Progress on Drinking […]

  • Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools 2015-2023: Special Focus on Menstrual Health

    รายงาน “Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools 2015-2023: Special Focus on Menstrual Health” นำเสนอข้อมูลสถานการณ์น้ำสะอาด สุขาภิบาล และสุขอนามัย (Wash and Sanitation, Hygiene) ในโรงเรียนจนถึงปีค.ศ. 2023 ทั้งระดับชาติ ภูมิภาค และระดับโลก โดยมุ่งเน้นเป็นพิเศษเรื่องสุขอนามัยขณะมีประจำเดือน   หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19 […]

  • Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene 2017

    รายงานสถานการณ์และข้อมูลของการเข้าถึงน้ำสะอาด ปลอดภัย การมีสุขาภิบาล และมีระบบจัดการที่ถูกสุขอนามัยของโลก ในปี 2017 และการประเมินสถานการณ์สำหรับการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 6 สร้างหลักประกันเรื่องน้ำและการสุขาภิบาลให้มีการจัดการอย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อมใช้สำหรับทุกคน หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (WHO)/ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2017 Progress on Household Drinking Water, Sanitation, and Hygiene 2000-2020 Progress on Drinking Water, Sanitation and Hygiene in Schools: Special focus on COVID-19 Drinking Water, Sanitation and […]

  • Progress on Children’s Well-Being: Centring Child Rights in the 2030 Agenda

    รายงาน “Progress on Children’s Well-Being: Centring child rights in the 2030 Agenda” ศึกษาความก้าวหน้าของตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่เกี่ยวข้องกับเด็กทั้งหมด 48 ตัวชี้วัด โดยจัดหมวดหมู่ความเป็นอยู่ดีที่ของเด็กไว้ 5 ด้าน ได้แก่ (1) การอยู่รอดและการเจริญเติบโต (2) การเรียนรู้ (3) การปกป้องจากอันตราย (4) สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและสะอาด และ (5) ชีวิตที่ปราศจากความยากจน พบว่ามีเด็กประมาณ 150 ล้านคน หรือเพียงร้อยละ 6 ของประชากรเด็กทั้งโลกเท่านั้นที่อาศัยอยู่ใน 11 ประเทศที่บรรลุเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับเด็กได้ถึงร้อยละ 50 ซึ่งถือเป็นระดับความสำเร็จสูงสุดที่เกิดขึ้นในระดับโลกขณะนี้   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 […]

  • Progress on Ambient Water Quality – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.2

    รายงานติดตามความก้าวหน้าสถานการณ์คุณภาพของน้ำโดยรอบ (Ambient Water) หรือการติดตามตัวชี้วัดย่อยที่ 6.3.2 สัดส่วนของแหล่งน้ำ (เช่น มหาสมุทร, ทะเล, ทะเลสาบ, แม่น้ำ, ธารน้ำ, คลอง, หรือสระน้ำ) ที่มีคุณภาพน้ำโดยรอบที่ดีในปี 2018 โดยเป็นหนึ่งในรายงานชุดที่เกี่ยวข้องกับการติดตามสถานการณ์น้ำสะอาด และสุขาภิบาลของโลก หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Water-related Ecosystems – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.6.1 Progress on Wastewater Treatment – Piloting the Monitoring Methodology and Initial […]

  • Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์คุณภาพของน้ำโดยรอบ (Ambient Water) ของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.3 ภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.3.2 สัดส่วนของแหล่งน้ำ (เช่น มหาสมุทร, ทะเล, ทะเลสาบ, แม่น้ำ, ธารน้ำ, คลอง, หรือสระน้ำ) ที่มีคุณภาพน้ำโดยรอบที่ดี หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update […]

  • Progress 2023: Periodic Global Report on the State of Solutions to Internal Displacement

    รายงาน “Progress 2023: Periodic Global Report on the State of Solutions to Internal Displacement” เป็นรายงานการวิเคราะห์สถานะของการแก้ปัญหาการพลัดถิ่นภายในประเทศ (Internal Displacement) ที่เกิดขึ้นทั่วโลกอย่างครอบคลุม โดยให้ข้อมูลเชิงลึกที่สำคัญเกี่ยวกับความท้าทายและโอกาสที่ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศต้องเผชิญจากกลุ่มประเทศนำร่อง 15 ประเทศ ประกอบด้วยอัฟกานิสถาน, สาธารณรัฐอัฟริกากลาง, ชาด, โคลอมเบีย, เอธิโอเปีย, อิรัก, ลิเบีย, โมซัมบิก, ไนเจอร์, ไนจีเรีย, โซมาเลีย, ซูดานใต้, ซูดาน, วานูอาตู และเยเมน   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (International Organization for Migration: IOM) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Global Assessment Report: Special Report 2023 – […]

  • Principles and Policy Guidance on Children’s Rights to a Safe, Clean, Healthy and Sustainable Environment in the ASEAN Region

    เอกสารคู่มือ “Principles and Policy Guidance on Children’s Rights to a Safe, Clean, Healthy and Sustainable Environment in the ASEAN Region” กำหนดหลักการพื้นฐานเพื่อรับรองสิทธิของเด็กในการมีสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย สะอาด สุขภาพดี และยั่งยืน รวมทั้งการยึดถือประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นศูนย์กลางของโครงการริเริ่มต่าง ๆ โดยทุกภาคส่วนของสังคมในประเทศภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื้อหาในเอกสารผ่านกระบวนการปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในด้านสิทธิเด็กและประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงกับเด็กและเยาวชนจากทั่วทั้งภูมิภาคด้วย หลักการและแนวทางนโยบายในเอกสารนี้จะมอบแนวนโยบายที่เป็นประโยชน์ให้รัฐบาล ภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ สื่อมวลชน และเด็กนำไปปฏิบัติเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก     หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และสำนักงานข้าสูงผู้แทนสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Human Rights) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: SDG 7 Localization: Affordable and […]

  • Press and Planet in Danger: Safety of Environmental Journalists; Trends, Challenges and Recommendations

    รายงาน “Press and Planet in Danger: Safety of Environmental Journalists; Trends, Challenges and Recommendations” เปิดเผยกรณีตัวอย่างที่สื่อมวลชนและสำนักข่าวที่รายงานเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทั่วโลกระหว่างปี 2009-2023 ที่ตกเป็นเป้าหมายของการประทุษร้าย ทั้งด้วยการฆาตกรรม ความรุนแรงทางกาย การคุมขังและการจับกุม การโจมตีทางออนไลน์ หรือการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือ ขณะเดียวกัน ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวก็พบการเพิ่มขึ้นของข้อมูลเท็จออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญ รายงานฉบับนี้ยังเรียกร้องให้มีการสนับสนุนการทำงานของนักข่าวสายสิ่งแวดล้อมและการกำกับดูแลแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ดีขึ้น   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: People and Planet: Addressing the Interlinked Challenges of Climate Change, Poverty and Hunger in Asia and the Pacific Impact Assessment of Climate […]

  • Preparing Teachers for Global Citizenship Education: A Template

    เอกสาร “Preparing Teachers for Global Citizenship Education: A Template” อธิบายวิธีการและข้อมูลเพื่อการบูรณาการ Global Citizenship Education (GCED) ลงในแนวทางการสอนของครูผู้สอน ผ่านกรอบแนวคิดในการสร้างการศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง แสดงให้เห็นถึงศิลปะของการสอน GCED ด้วยตัวอย่างการสอนที่สร้างสรรค์ที่จะทำให้เห็นว่า GCED สามารถรวมเข้ากับสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อย่างไร   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Citizenship Education: A Policymaking Awareness and Advocacy Handbook Integrating Education for Sustainable Development (ESD) in Teacher Education […]

  • Practical Guide to Data Storytelling in Voluntary National Reviews and SDG Reporting

    คู่มือ “Practical Guide to Data Storytelling in Voluntary National Reviews and SDG reporting” สามารถช่วยสนับสนุนนักสถิติ นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล ผู้กำหนดนโยบาย นักวิเคราะห์ คนทำงานด้านการสื่อสาร เล่าเรื่องราวผ่านข้อมูลในรายงาน VNR และรายงาน SDGs ได้อย่างน่าเชื่อ โดยมุ่งเน้นที่การทำความเข้าใจบริบทและสร้างเรื่องเล่า ประกอบด้วยตัวอย่างที่ดึงมาจากการรายงาน VNRs และ รายงาน SDGs รวมถึงแหล่งข้อมูลภายนอกอื่น ๆ     หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสถิติแห่งสหประชาชาติ (United Nations Statistics Division) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: From Commitment to Action: Integrating Sustainable Development into National Education Priorities: A Practical […]

  • Population Matters for Sustainable Development

    รายงานฉบับนี้อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างพลวัตด้านประชากรศาสตร์กับการพัฒนาที่ยั่งยืน บทเรียนและบทสนทนาว่าด้วยเป้าหมายการพัฒนาระหว่างประเทศภายหลังปี 2558 โดยใช้เป็นข้อมูลในการเตรียมพร้อมเพื่อการประชุม Rio+20 ซึ่งจัดขึ้นโดยคณะกรรมาธิการว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (UN Conference on Sustainable Development – UNCSD) ในการหารือและประสานความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ และภาคเอกชน หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Population and Sustainable Development in the Post-2015 Agenda Sustainable Development Report 2020 2019 US Cities Sustainable Development Report Sustainable Development Report 2019

  • Population and Sustainable Development in the Post-2015 Agenda

    รายงานฉบับนี้นำเสนอความสำคัญของการสำรวจความท้าทายด้านการพัฒนาตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการมองในมุมความเชื่อมโยงกับพลวัตด้านประชากรศาสตร์ สิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ เพราะประเด็นด้าน “ประชากร” ย่อมมีผลต่อวาระการพัฒนา หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: State of World Population 2015 Population Matters for Sustainable Development รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2560 (2017 […]

  • People and Planet: Addressing the Interlinked Challenges of Climate Change, Poverty and Hunger in Asia and the Pacific

    รายงาน “People and Planet: Addressing the Interlinked Challenges of Climate Change, Poverty and Hunger in Asia and the Pacific” ฉบับนี้อยู่ในซีรีย์ Asia-Pacific Sustainable Development Goals (SDG) Partnership กล่าวถึงการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความยากจน และความหิวโหยในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก มุ่งเน้นไปที่ผลกระทบที่แตกต่างกันของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วทั้งภูมิภาค ซึ่งส่งผลต่อความยากจนและความหิวโหย สืบเนื่องจากภาวะกดดันด้านค่าครองชีพ ความขัดแย้งทั่วโลก และภัยธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ในขณะที่หลายประเทศยังคงฟื้นฟูจากความตึงเครียดทางการคลังจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การกู้ยืมเกินตัว และต้นทุนหนี้ที่สูง พร้อมทั้งนำเสนอแนวทางแก้ไขเชิงบูรณาการ โดยคำนึงถึงปัจจัยสนับสนุน เช่น การศึกษา การสร้างเสริมศักยภาพของสถาบัน การเงินเพื่อนวัตกรรม และการสร้างความร่วมมือ พร้อมกับตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดีและสัมฤทธิ์ผลเพื่อนำไปดำเนินการต่อ   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The […]

  • Overview of National Activities related to SDG Implementation Across the Asia-Pacific Region

    เอกสาร ‘Overview of national activities related to SDG implementation across the Asia-Pacific region’ ซึ่งนำเสนอในการประชุมภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หัวข้อ : การดำเนินการร่วมกันเพื่อเร่งการปฏิรูปสถิติทางการสำหรับวาระ 2030 ที่ กรุงเทพฯ 27-28 มีนาคม 2560 โดยเอกสาร เกี่ยวกับภาพรวมกิจกรรมการดำเนินการขับเคลื่อน SDGs ในระดับชาติ ทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก   หน่วยงานที่จัดทำ : คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Key Elements of An Effective National Indicator Framework to Drive […]

  • Overcoming Data Graveyards in Official Statistics

    รายงาน “Overcoming Data Graveyards in Official Statistics” ให้ความชัดเจนด้านแนวคิดเกี่ยวกับความท้าทายและแนวทางในการพัฒนาการใช้ข้อมูลสถิติเพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบายและแนวทางการวิจัยในอนาคต     หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ OPEN DATA WATCH ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Asia-Pacific Migration Data Report 2021 World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics […]

  • Our Common Agenda

    รายงาน “Our Common Agenda” โดยเลขาธิการสหประชาชาติ จะฉายภาพอนาคตอีก 25 ปีข้างหน้า ในด้านความร่วมมือระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รายงานฉบับนี้ได้เสนอต่อการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ (General Assembly) ครั้งที่ 75 ในปีพ.ศ. 2564   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การสหประชาชาติ (UN) ดาวน์โหลด: เอกสารอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: United Nations Common Guidance on Helping Build Resilient Societies รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) Energy Transition […]