Sorting:
Sort Descending
  • State of Global Environmental Governance 2023

    รายงาน “State of Global Environmental Governance 2023” นำเสนอสถานการณ์ของการอภิบาลด้านสิ่งแวดล้อมโลกประจำปีเป็นฉบับที่ 5 โดยอาศัยข้อมูลเชิงลึกจาก Earth Negotiations Bulletin (ENB) ที่ติดตามการเจรจาระหว่างประเทศในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ สารเคมี ป่าไม้ และที่ดิน     หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันนานาชาติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (International Institute for Sustainable Development: IISD) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Impact Assessment of Climate Change and Environmental Degradation on Children in Thailand Climate […]

  • State of Finance for Nature 2023

    รายงาน “State of Finance for Nature 2023” นำเสนอสถานะการไหลเวียนของเงินทุนไปสู่โครงการการแก้ปัญหาที่มีธรรมชาติเป็นพื้นฐาน (Nature-based Solutions: NbS) เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ และความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ ประจำปี 2023 และเป็นครั้งแรกที่มีการประเมินมูลค่าของการไหลเวียนเงินทุนในเชิงลบต่อธรรมชาติจากทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วโลก   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Hygiene: UN-Water GLAAS Findings on National Policies, Plans, Targets and Finance Sustainable Finance: Bridging the Gap in Asia and the Pacific Nature-based Infrastructure: How Natural Infrastructure Solutions Can […]

  • South-South and Triangular Cooperation In Action

    – Sexual and Reproductive Health รายงานฉบับนี้นำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนาหรือความร่วมมือใต้ – ใต้ (South-South) ในประเด็นสิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ความเท่าเทียมระหว่างเพศ การเสริมพลังอำนาจแก่เยาวชน และข้อมูลประชากรเพื่อการพัฒนา โดยรวมถึงกรณีศึกษาในด้าน อาทิ การวางแผนครอบครัว สุขภาพมารดาและเด็ก และพยาบาลผดุงครรภ์ ทั้งนี้ เพื่อเป็นข้อมูลหรือแนวทางให้สามารถเลือกนำไปใช้ประกอบการส่งเสริมการพัฒนาความร่วมมือใต้-ใต้ในประเด็นเหล่านี้ หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2 Joint External Evaluation of IHR […]

  • Social Protection in the Digital Age: A Summary of the Human Rights Risks of Digital Technologies in Social Protection Systems

    เอกสาร “Social Protection in the Digital Age: A Summary of the Human Rights Risks of Digital Technologies in Social Protection Systems” นำเสนอสรุปงานวิจัยแนวโน้มการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในระบบสวัสดิการสังคมทั่วโลก และเน้นย้ำถึงความจำเป็นที่ต้องมีกระบวนการที่โปร่งใสและการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่ดีขึ้น บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อช่วยให้เกิดความกระจ่างในประเด็นความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนที่เพิ่งเกิดขึ้น และเสนอแนะแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการลดหย่อนภัยคุกคามดังกล่าว   หน่วยงานที่จัดทำ: Amnesty International ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Social Protection Report 2017-19 World Social Protection Report 2020-22 National Systems to Support Drinking-Water, Sanitation and Hygiene: Global Status Report 2019 Leveraging Human […]

  • Social Outlook 2022: The Workforce We Need

    รายงาน ‘Social Outlook for Asia and the Pacific: The Workforce We Need’ ระบุถึงสถานการณ์แรงงานในภูมิภาคเอเชีย-เเปซิฟิก ว่า เเรงงานกว่า 2.1 พันล้านคนถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าถึงงานที่มีคุณค่า (decent work) การดูแลสุขภาพ (healthcare) และการคุ้มครองทางสังคม (social protection) เเม้ว่าจะมีนโยบายและเครื่องมือการจัดการจำนวนมากที่รัฐบาลสามารถใช้เพื่อแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง สร้างหลักประกันว่าสิทธิความต้องการของเเรงงานและครอบครัวของพวกเขาจะถูกยกระดับให้ดีขึ้นก็ตาม   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (Economic and Social Commission for Asia and the Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Employment and Social Outlook: Trends 2018 World Employment and Social Outlook: Trends […]

  • Small Island Developing States Response to COVID-19

    Highlighting food security, nutrition and sustainable food systems Policy Brief นี้ได้สำรวจผลกระทบจากโควิด-19 ที่มีต่อระบบอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการของรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก รวมถึงการใช้มาตรการตอบสนองอย่างรวดเร็ว อาทิ การพยายามทำให้มาตรการหลาย ๆ อย่างของภาคเกษตรกรรมเป็นรูปแบบดิจิทัล เช่น e-commerce และ mobile banking เป็นต้น หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: FAO’s Work With Small Island Developing States Proposals for Crisis-response Provisions in Regional and Bilateral Transport Agreements of the ESCAP Member States Lessons […]

  • Skills for a Green Transition: Solutions for Youth on the Move

    เอกสาร “Skills for a Green Transition: Solutions for Youth on the Move” ให้ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติสำหรับผู้กำหนดนโยบาย นักพัฒนา เพื่อสนับสนุนเยาวชนในการเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาทักษะสีเขียว (Green Skills) หรือทักษะความรู้ที่จำเป็นในการสร้างสังคมที่ยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยเน้นย้ำความครอบคลุมไปถึงกลุ่มเยาวชนที่ย้ายถิ่นฐาน ผู้ลี้ภัย และเยาวชนที่ถูกบังคับให้พลัดถิ่นฐานในการมีส่วนร่วมหารือและความพยายามที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ยูนิเซฟ และธนาคารโลก (World Bank) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: ข้อคิดเห็นของเยาวชนและนายจ้างเกี่ยวกับโอกาสในการมีงานทำของเยาวชนไทย (Voices of youth and employers on youth employability in Thailand) Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap […]

  • Six Transformations to achieve the Sustainable Development Goals

    ‘6 ยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงในระดับรากฐานเพื่อบรรลุเป้าหมาย SDGs’ เป็นยุทธศาสตร์เพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และเป้าหมายของความตกลงปารีสว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Paris Climate Accord) มีมาตรการสำคัญ (Key Interventions) คือต้องดำเนินการควบคู่กันทั้ง 6 ด้าน เพื่อทำให้เกิดผลผลิต/ผลลัพธ์ขั้นกลาง (Intermediate Output/Outcome) ที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย SDGs อีกต่อหนึ่ง ผู้แต่ง: Jeffrey Sachs และคณะ ดาวน์โหลดที่นี่ Related posts: Financing for Sustainable Development Report 2023: Financing Sustainable Transformations Let’s Work Together: Education has a Key Role in Helping Achieve the Sustainable Development Goals Education for Sustainable Development […]

  • Session 6: Drawing the Casual Diagram for Integration and Localizing SDG 6 with Other SDGs in cities for Sustainable Urban Development

    เอกสาร ‘Session 6: Drawing the causal diagram for integration and localizing SDG 6 with other SDGs in cities for sustainable urban development’ โดยใช้ประกอบในการนำเสนอวาระที่ 6 ของการสัมมนาระดับภูมิภาคว่าด้วยแนวทางการบูรณาการ SDG6 : การมีน้ำสะอาดและสุขอนามัยที่ดี วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2559 ณ กรุงเทพฯ   หน่วยงานที่จัดทำ : คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Session 5: Integrating and […]

  • Session 5: Integrating and Localizing SDG 6 for Inclusive, Safe, Resilient and Sustainable Cities

    เอกสาร ‘Session 5: Integrating and localizing SDG 6 for inclusive, safe, resilient and sustainable cities’ โดยใช้ประกอบในการนำเสนอวาระที่ 5 ของการสัมมนาระดับภูมิภาคว่าด้วยแนวทางการบูรณาการ SDG6 : การมีน้ำสะอาดและสุขอนามัยที่ดี วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2559 ณ กรุงเทพฯ ประกอบไปด้วยเอกสาร 6 ฉบับ ได้แก่ Integrated Strategic Approaches & Policy Tools to Facilitate a Shift Towards Water-Hazard Resilient Infrastructure and Sustainable Cities บรรยายโดย Ms.Aida Karazhanova เจ้าหน้าที่ฝ่ายเศรษฐกิจจาก ESCAP Urban Wastewater […]

  • Session 5 – The Urban SDG Knowledge Platform

    เอกสาร ‘Session 5 – The Urban SDG Knowledge Platform’ โดยใช้ประกอบการนำเสนอวาระที่ 5 ของการเวิร์กชอปการดำเนินการระดับภูมิภาคว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนในเมืองในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค วันที่ 30 พฤศจิกายน -1 ธันวาคม 2559 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งประกอบไปด้วยเอกสาร 3 ฉบับ ได้แก่ Introduction to the Urban SDG Knowledge Platform บรรยายโดย Felicity Cain VIETNAM URBAN DEVELOPMENT TOWARDS 2030 AGENDA FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT บรรยายโดย Dr.Tran Ngoc Linh (Urban Development Agency – Ministry of Construction – […]

  • SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action)

    เหลือเวลาอีกเพียง 10 ปี ที่ประชาคมโลกจะต้องร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่ออนาคตที่ดีกว่า การจะบรรลุ SDGs ทั้งในระดับโลก ระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น ภายในระยะเวลาที่กำหนด ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และภาคส่วนอื่นๆ ในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รับชมวิดิโอได้ที่นี่ :   Related posts: เป้าหมายที่ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (SDG 13: Climate action) Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy […]

  • SDGs กับเยาวชน

    เด็กและเยาวชนทุกคน จะต้องมีส่วนร่วมสร้างโลกในวันข้างหน้า ด้วยการลงมือทำปรับพฤติกรรม เพื่อสร้างวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่า โดยเริ่มจากการสร้างค่านิยมในการใช้ซ้ำ ลด ละ เลิก และงดการแชร์ส่งต่อ การล้อเลียน หรือ Bully ด้วยการสร้างวาทกรรมเสียดสี หรือ Hate Speech และหันมาใส่ใจกับคนรอบข้างและคนใกล้ตัวให้มากขึ้น   หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ :   Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับภาคธุรกิจ SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) SDGs กับเกษตรกร

  • SDGs กับเกษตรกร

    เกษตรกรรมยั่งยืน คือ ระบบเกษตรที่ครอบคลุมวิถีชีวิตเกษตรกร กระบวนการผลิต และการจัดการทุกรูปแบบเพื่อให้เกิดความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ ซึ่งนำไปสู่การพึ่งตนเองและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผู้บริโภค ซึ่งการเปลี่ยนจากการทำการเกษตรเชิงเดี่ยวแบบเดิม ให้มีความหลากหลายมากขึ้น หรือการลดใช้สารเคมี จะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำการเกษตรได้ หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับภาคธุรกิจ SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน (SDG 15: Life on land)

  • SDGs กับอาหารริมทาง

    อาหารริมทาง (Street Food) มีส่วนสำคัญที่ช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทั่วทุกมุมโลกเดินทางมายังประเทศไทย ด้วยความหลากหลายของเมนูอาหาร ผนวกกับรสชาติที่โดดเด่น ราคาที่ย่อมเยา จึงทำให้ครองใจนักท่องเที่ยวทั่วโลก แต่ผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการใช้ชีวิตประจำวันของเราก่อให้เกิดปัญหาทางสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย ปัญหาขยะที่มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จากการใช้ภาชนะฟุ่มเฟือย และการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้อง ถึงเวลาแล้วที่เราจะพลิกโฉม Street food ของเราให้มีสุขอนามัยที่ดี สะอาดปลอดภัย ไม่สร้างมลภาวะ และสร้างความประทับใจให้แก่ผู้บริโภค หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับภาคธุรกิจ SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) SDGs กับเกษตรกร

  • SDGs กับภาคธุรกิจ

    ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ เรามักให้ความสำคัญกับการทำกำไรสูงสุด โดยละเลยต้นทุนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจทำให้เกิดปัญหาตามมามากมาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหามลพิษทางอากาศ และทางทะเล โลกร้อน การใช้แรงงานผิดกฎหมาย และการจ้างงานที่ไม่เป็นธรรม ดังนั้น การดำเนินธุรกิจที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Business จึงกลายมาเป็นแนวปฏิบัติเพื่อบรรเทาผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้น และส่งเสริมให้ธุรกิจเติบโตไปพร้อมกับสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนได้ หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ :     Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) SDGs กับเกษตรกร เป้าหมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์มหาสมุทรและทรัพยากรทะเลอย่างยั่งยืน (SDG 14: Life below water)

  • SDGs กับชีวิตคนเมือง

    คุณภาพชีวิตที่ดี เริ่มได้ง่ายๆด้วยการจัดสรรเวลาในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การกิน การออกกำลังกาย และการพักผ่อนให้เกิดความสมดุลในการใช้ชีวิต การใช้ชีวิตในเมืองใหญ่สร้างผลกระทบต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในหลายด้าน เช่น มลภาวะทางอากาศ น้ำ ปัญหาขยะต่าง ๆ รวมถึงสุขภาพของคนเมือง หากคนเมืองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่าง จะช่วยให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น และนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนได้ หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดีโอได้ที่นี่ : Related posts: SDGs Mega Trends 2021: COVID-19 and a Great Reset to SDGs in Action ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action) Session 6: Drawing the Casual Diagram for Integration and Localizing SDG […]

  • SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+)

    ประเทศไทยมีประชากรกลุ่ม LGBTQI+ จำนวนกว่า 4 ล้านคน คิดเป็น 6% ของจำนวนประชากรไทยทั้งหมด แม้ว่าในมุมมองของชาว LGBTQI+ ทั่วโลกจะเห็นว่าประเทศไทยค่อนข้างจะเปิดกว้างในเรื่องความหลากหลายทางเพศ และให้การยอมรับชาว LGBTQI+ อย่างเต็มที่ แต่การวิจัยจากกลุ่มธนาคารโลก ร่วมกับคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบริษัท Love Frankie ระบุว่ากลุ่มคนข้ามเพศ 77% หญิงรักหญิง 62.5% และชายรักชาย 49% ถูกปฏิเสธการรับเข้าทำงาน เนื่องจากความแตกต่างทางเพศวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศ การเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ ไม่ได้มีเพียงแค่ในสังคมที่ทำงานเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับชาว LGBTQI+ โดยทั่วไป หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดีโอได้ที่นี่ : Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action) […]

  • SDGs Mega Trends 2023: Unlock the Global Pathways to Resilience, Growth, and Sustainability

    รายงาน “SDGs Mega Trends 2023” นำเสนอ 5 แนวโน้มสำคัญเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนปี ค.ศ. 2023” ที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก โดยคัดเลือกประเด็นเด่น 5 ประเด็นเกี่ยวกับความยั่งยืนจากแหล่งข้อมูลชั้นนำทั่วโลกที่ควรให้ความสำคัญ เพื่อปลดล็อคจากความท้าทาย สู่การฟื้นตัวหลังโควิด-19 เพื่อสร้างการเติบโตที่ยั่งยืน และตอบโจทย์ SDGs ในหลากหลายมิติ     หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: SDGs Mega Trends 2021: COVID-19 and a Great Reset to SDGs in Action SDGs Mega Trends 2022: Corporate Climate Action Global Wage Report 2012/13: Wages and Equitable […]

  • SDGs Mega Trends 2022: Corporate Climate Action

    รายงาน “SDGs Mega Trends 2022” นำเสนอ 5 แนวโน้มสำคัญเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนปี ค.ศ. 2022” ที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก โดยคัดเลือกประเด็นเด่น 5 ประเด็นเกี่ยวกับความยั่งยืนจากแหล่งข้อมูลชั้นนำทั่วโลกที่ควรให้ความสำคัญ โดยเรื่องเด่นที่ภาคธุรกิจต้องใส่ใจในปีนี้คือ การปรับเปลี่ยนเพื่อป้องกันและแก้ปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ     หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: SDGs Mega Trends 2021: COVID-19 and a Great Reset to SDGs in Action SDGs Mega Trends 2023: Unlock the Global Pathways to Resilience, Growth, and Sustainability Global Employment Trends for Youth 2022: […]