การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ (The Big Conversation: Handbook to Address Violence against Women in and through the Media)
“การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ” จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับองค์การสหประชาชาติและหน่วยงานอื่น ๆ ที่ทำงานร่วมกับองค์กรสื่อในการใช้สื่อเป็นเครื่องมือเพื่อส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศและป้องกันความรุนแรงที่จะเกิดต่อผู้หญิงและเด็กหญิง ส่งเสริมคุณค่าของความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการไม่เลือกปฏิบัติผ่านการสร้างเนื้อหาที่สื่อผลิตขึ้น หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) และ UN Women ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ และภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: สื่อ “สาร” ให้เข้าถึง : คู่มือนักข่าวสำหรับการรายงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก Global Citizenship Education: A Policymaking Awareness and Advocacy Handbook Climate Science Literacy: Media Toolkit in Support of the Sustainable Development Goals Building the Bridge To Reduce Armed […]
Report of the Global Conference on Primary Health Care: From Alma-Ata Towards Universal Health Coverage and the Sustainable Development Goals
เมื่อวันที่ 25 และ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2561 มีการรวมตัวจากหลายภาคส่วนเพื่อจัดการประชุมระดับโลกเกี่ยวกับสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care) โดยการประชุมครั้งนี้เป็นการเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี การประชุมระหว่างประเทศเรื่องสาธารณสุขมูลฐานจากที่มีการประชุมครั้งแรกเมื่อปี 2521 ณ เมืองอัลมาตี้ (เดิมมีชื่อว่า อัลมา-อาตา) ประเทศคาซักสถาน ทั้งนี้ จากการประชุมในครั้งแรกได้นำมาซึ่ง ‘คำประกาศอัลมา – อตา’ (Alma-Ata Declaration) ว่าด้วยความจำเป็นอย่างเร่งดวนของทุกฝ่ายในการปกป้องและส่งเสริมสุขภาพของประชาชนทุกคนในโลก หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Tracking Universal Health Coverage: 2023 Global Monitoring Report Fair Share for Health and Care: Gender and […]
สืบสานสู่ปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย
หนังสือ “สืบสานสู่ปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย” เป็นหนังสือแปลจากฉบับภาษาอังกฤษชื่อ “A Call to Action: Thailand and the Sustainable Development Goals” มีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมายและกรอบการพัฒนาที่ยั่งยืน เหตุและผลว่าทำไมคนไทยทุกคนควรรับรู้ เข้าใจและมีส่วนร่วมในการช่วยให้ประเทศบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หน่วยงานที่จัดทำ: ศูนย์การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียง ดาวน์โหลด: ที่นี่ Related posts: Textbooks for Sustainable Development: a Guide to Embedding Education for Sustainable Development Goals: Learning Objectives Motivators for Sustainability: 17 Lessons of Sustainable Development Goals in Thailand นโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนอย่างเป็นธรรม (Public Policy for Just Sustainable Futures)
The State of Food and Agriculture 2019
Moving forward on food loss and waste reduction รายงานสถานการณ์อาหารและเกษตรกรรมปี 2562 เน้นประเด็นขยะอาหาร (food waste) และการสูญเสียอาหารในกระบวนการผลิตและหลังการเก็บเกี่ยว (food loss) โดยเป็นการประเมินที่ยังไม่นับรวมการสูญเสียในระดับการค้าปลีก ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้กำหนดนโยบายมีข้อมูลบทวิเคราะห์การสูญเสียอาหารในระบบห่วงโซ่อุปทานที่รอบด้าน และมีตัวอย่างมาตรการที่จะนำไปสู่การลดขยะอาหารและการสูญเสียอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021 Global Report on Food Crises 2019 Global Report on […]
FAO’s Work With Small Island Developing States
Transforming food systems, sustaining small islands FAO ชวนสำรวจดูความท้าทายและโอกาสในปัจจุบันของรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก และจะทำอย่างไรให้ประเทศเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงระบบอาหารจากรากฐานเพื่อเลี้ยงดูประชากรของหมู่เกาะได้ โดยการนำแผนระดับโลกด้านความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการสำหรับรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นหมู่เกาะขนาดเล็กไปใช้ (Global Action Programme on Food Security and Nutrition in Small Island Developing States – SIDS) หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Small Island Developing States Response to COVID-19 Fair Share for Health and Care: Gender and the Undervaluation of Health and Care Work Joint […]
TIJ Journal: หลักนิติธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
หนังสือ “TIJ Journal : หลักนิติธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน” รวบรวมเนื้อหาจากเวทีสาธารณะว่าด้วยหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน (TIJ Public Forum on the Rule of Law and Sustainable Development) ที่จัดขึ้นในปีพ.ศ. 2560 เป็นหลัก รวมถึงสรุปและรวบรวมเนื้อหาจากแหล่งข้อมูลสำคัญอื่น ๆ เพื่อส่งต่อความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับหลักนิติธรรมไปใช้ในทางปฏิบัติในภาคส่วนต่าง ๆ และสนุนการเชื่อมโยงหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันเพื่อความยุติธรรมแห่งประเทศไทย ดาวน์โหลด : เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Asia-Pacific Sustainable Development Journal สืบสานสู่ปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย Motivators for Sustainability: 17 Lessons of Sustainable Development Goals in Thailand นโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนอย่างเป็นธรรม (Public Policy for Just Sustainable […]
Asia-Pacific Sustainable Development Journal
วารสาร “Asia-Pacific Sustainable Development Journal” ตีพิมพ์เผยแพร่ปีละสองครั้งในเดือนพฤษาคมและพฤศจิกายน โดยเป็นวารสารต่อเนื่องจากชื่อเดิมคือ Asia Pacific Development Journal (APDJ) ที่ให้เนื้อหาสอดคล้องกับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนปี 2030 เริ่มเผยแพร่ด้วยชื่อวารสาร Asia-Pacific Sustainable Development Journal ตั้งแต่ปีค.ศ. 2018 จนถึงปัจจุบัน หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: วารสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: TIJ Journal: หลักนิติธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: Rethinking Public Debt […]
South-South and Triangular Cooperation In Action
– Sexual and Reproductive Health รายงานฉบับนี้นำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนาหรือความร่วมมือใต้ – ใต้ (South-South) ในประเด็นสิทธิทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ความเท่าเทียมระหว่างเพศ การเสริมพลังอำนาจแก่เยาวชน และข้อมูลประชากรเพื่อการพัฒนา โดยรวมถึงกรณีศึกษาในด้าน อาทิ การวางแผนครอบครัว สุขภาพมารดาและเด็ก และพยาบาลผดุงครรภ์ ทั้งนี้ เพื่อเป็นข้อมูลหรือแนวทางให้สามารถเลือกนำไปใช้ประกอบการส่งเสริมการพัฒนาความร่วมมือใต้-ใต้ในประเด็นเหล่านี้ หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UN Population Fund – UNFPA) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2 Joint External Evaluation of IHR […]