Sorting:
Sort Ascending
  • Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์ความร่วมมือบริหารจัดการน้ำข้ามพรมแดนของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.5 ดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวมในทุกระดับ รวมถึงผ่านทางความร่วมมือระหว่างเขตแดนตามความเหมาะสมภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.5.2 สัดส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำที่ข้ามเขตแดนมีการจัดการดำเนินงานเพื่อความร่วมมือด้านน้ำ หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2 Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update Summary Progress Update 2021: SDG 6 – Water […]

  • Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2

    รายงานติดตามความก้าวหน้าการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำข้ามพรมแดน หรือการติดตามตัวชี้วัดย่อยที่ 6.5.2 สัดส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำที่ข้ามเขตแดนมีการจัดการดำเนินงานเพื่อความร่วมมือด้านน้ำ ในปี 2018 โดยเป็นหนึ่งในรายงานชุดที่เกี่ยวข้องกับน้ำสะอาด และสุขาภิบาล หน่วยงานที่จัดทำ:United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress on Water-Use Efficiency – Global baseline for SDG indicator 6.4.1 Progress on Level of Water Stress […]

  • Progress on Wastewater Treatment – 2021 Update

    รายงานความคืบหน้าสถานการณ์การบำบัดน้ำเสียของโลกในปี พ.ศ. 2564 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.3 ภายในปี พ.ศ. 2573 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.3.1 เรื่องการสัดส่วนของน้ำเสียจากครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่ได้รับการบำบัดอย่างปลอดภัย หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update

  • Progress on Wastewater Treatment – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.1

    รายงานติดตามความก้าวหน้าสถานการณ์การบำบัดน้ำเสียของโลก หรือการติดตามตัวชี้วัดย่อยที่ 6.3.1 สัดส่วนของน้ำเสียจากครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่ได้รับการบำบัดอย่างปลอดภัยในปี 2018 โดยเป็นหนึ่งในรายงานชุดที่เกี่ยวข้องกับการติดตามสถานการณ์น้ำสะอาด และสุขาภิบาลของโลก หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Water-related Ecosystems – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.6.1 Progress on Ambient Water Quality – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.2 Progress on Wastewater Treatment – […]

  • Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์ระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.6 ปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำ รวมถึงภูเขา ป่าไม้ พื้นที่ชุ่มน้ำ แม่น้ำ ชั้นหินอุ้มน้ำ และทะเลสาบภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.6.1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับน้ำตลอดทุกช่วงเวลา หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Water-related Ecosystems – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.6.1 Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update […]

  • Progress on Water-related Ecosystems – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.6.1

    รายงานติดตามความก้าวหน้าการปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำ หรือการติดตามตัวชี้วัดย่อยที่ 6.6.1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับน้ำตลอดทุกช่วงเวลาในปี 2018 โดยเป็นหนึ่งในรายงานชุดที่เกี่ยวข้องกับการติดตามสถานการณ์น้ำสะอาด และสุขาภิบาลของโลก หน่วยงานที่จัดทำ:United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Ambient Water Quality – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.2 Progress on Wastewater Treatment – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.3.1 Progress on Water-related Ecosystems – 2021 […]

  • Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.4 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำในทุกภาคส่วนและสร้างหลักประกันว่าจะมีการใช้น้ำและจัดหาน้ำที่ยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และลดจำนวนประชาชนที่ประสบความทุกข์จากการขาดแคลนน้ำภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.4.1 การเปลี่ยนแปลงของการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพตลอดทุกช่วงเวลา หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Summary Progress Update 2021: SDG 6 – Water […]

  • Progress on Water-Use Efficiency – Global baseline for SDG indicator 6.4.1

    รายงานติดตามความก้าวหน้าสถานการณ์ประสิทธิภาพการใช้น้ำ หรือการติดตามตัวชี้วัดย่อยที่ 6.4.1 การเปลี่ยนแปลงของการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพตลอดทุกช่วงเวลาในปี 2018 โดยเป็นหนึ่งในรายงานชุดที่เกี่ยวข้องกับการติดตามสถานการณ์น้ำสะอาด และสุขาภิบาลของโลก หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2 Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update Drinking Water, Sanitation and Hygiene in […]

  • Proposals for Crisis-response Provisions in Regional and Bilateral Transport Agreements of the ESCAP Member States

    รายงาน “Proposals for crisis-response provisions in regional and bilateral transport agreements of the ESCAP member States” นำเสนอข้อมูลว่าการขนส่งและการค้ามีความเชื่อมโยงอย่างไรกับการระบาดใหญ่ โดยพูดถึงเนื้อหาการออกกฎระเบียบหรือมาตราการต่าง ๆ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ COVID-19 แต่กลับนำไปสู่ผลกระทบทางการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งรายฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้แต่ละประเทศ มีการปรับเปลี่ยนนโยบายหรือมาตรการให้เข้ากับบริบทในประเทศและคู่ค้า และเตรียมความพร้อม หากเกิดวิกฤติการแพร่ระบาดครั้งใหญ่ในอนาคต   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Small Island Developing States Response to COVID-19 วิกฤติสภาพภูมิอากาศ คือวิกฤติสิทธิเด็ก: ดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก (The Climate Crisis […]

  • Putting Children at the Centre of the Sustainable Development Goals

    Policy Brief 5 ปีให้หลังจากที่ประเทศต่าง ๆ ให้คำมั่นต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเมื่อปี 2015 เด็กจำนวนมากถึง 250 ล้านคนยังไม่ได้รับการส่งเสริมตามศักยภาพของตนอย่างเต็มกำลังได้ รายงาน “Putting children at the centre of the Sustainable Development Goals” ฉบับนี้ เป็นคำแนะนำให้ผู้กำหนดนโยบายตระหนักว่าความเป็นอยู่ของเด็กเป็นตัวชี้วัดหรือหัวใจสำคัญของการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ และการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) และ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Measuring Children’s Well-being: the Child Flourishing and Futures Index Impact Assessment of Climate Change and Environmental Degradation on Children […]

  • Reducing Inequality in the Decade of Action to Achieve the SDGs and Accelerate Post-pandemic Recovery

    บทสรุปเชิงนโยบาย “Reducing Inequality in the Decade of Action to Achieve the SDGs and Accelerate Post-pandemic Recovery” ให้ความสำคัญและขยายความแนวทางการลดความเหลื่อมล้ำในภูมิภาคอาเซียนเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง นอกจากนี้ บทความนี้ยังกล่าวถึงผลกระทบจากความเหลื่อมล้ำต่อประชากรในมิติต่าง ๆ ครอบคลุมประเด็นสำคัญ 5 ประเด็น ได้แก่ งาน สวัสดิการสังคม การศึกษา สาธารณสุข และความมั่นคงทางอาหาร โดยบทสรุปเชิงนโยบายนี้เป็นผลลัพธ์จากการหารือบนเวทีการประชุมเชิงวิชาการอาเซียน-จีน-UNDP ครั้งที่ 6 เกี่ยวกับ SDGs     หน่วยงานที่จัดทำ: สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Women as Agents of Change for Greening […]

  • Reflect–Share–Act: A Guide to Community-based Education for Sustainable Development

    คู่มือ “Reflect–Share–Act: A Guide to Community-based Education for Sustainable Development” นำเสนอการใช้กระบวนการเรียนรู้ “สะท้อน-แบ่งปัน-ลงมือทำ” เพื่อการค้นหาและกำหนดนิยามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนบริบทของแต่ละชุมชนร่วมกับสมาชิกในชุมชน ผ่านข้อมูลประสบการณ์จริงของชุมชนใน 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Education for Sustainable Development and the SDGs, Learning to Act, Learning to Achieve Integrating Education for Sustainable Development (ESD) in Teacher Education in […]

  • Regional Action Agenda on Achieving the. Sustainable Development Goals in the Western Pacific

    รายงาน “Regional action agenda on achieving the sustainable development goals in the Western Pacific” ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้คำแนะนำแก่ทุกระดับของการดำเนินงานด้านการพัฒนาในประเทศสมาชิกที่จะขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายและเป้าประสงค์ที่เกี่ยวกับประเด็นด้านสุขภาพในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (health-related targets of the SDGs) หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The Costs of Achieving the Sustainable Development Goals Achieving the Sustainable Development Goals through Tourism – Toolkit of Indicators for Projects (TIPs) GCED: Taking It Local in […]

  • Regional Energy Trends Report 2020: Tracking SDG 7 in the ASEAN Region

    รายงาน “Regional Energy Trends Report 2020 : Tracking SDG 7 in the ASEAN Region” รายงานแนวโน้มการใช้พลังงานในภูมิภาคอาเซียนที่สูงขึ้น ทำให้ผู้กำหนดนโยบายต้องเผชิญกับความท้าทาย ในการสร้างความสมดุลนโยบายต่อโลก ภูมิภาค ประเทศ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน รายงานฉบับนี้ได้ติดตามความคืบหน้าของภูมิภาคอาเซียนในการจัดให้มีการเข้าถึงไฟฟ้าอย่างทั่วถึง รวมถึงส่วนแบ่งการใช้พลังงานหมุนเวียนแบบผสมที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ประเทศในภูมิภาคอาเซียนถูกจัดเป็นภูมิภาคที่มีความเข้มข้นในการใช้พลังงานในระดับต่ำ อย่างไรก็ตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานในภูมิภาคนี้ยังคงช้าเกินไปในหลาย ๆ กรณีในการที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน #SDG7 ในปี ค.ศ. 2030     หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: SDG 7 Localization: Affordable and Clean Energy […]

  • Report of the Global Conference on Primary Health Care: From Alma-Ata Towards Universal Health Coverage and the Sustainable Development Goals

    เมื่อวันที่ 25 และ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2561 มีการรวมตัวจากหลายภาคส่วนเพื่อจัดการประชุมระดับโลกเกี่ยวกับสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care) โดยการประชุมครั้งนี้เป็นการเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี การประชุมระหว่างประเทศเรื่องสาธารณสุขมูลฐานจากที่มีการประชุมครั้งแรกเมื่อปี 2521 ณ เมืองอัลมาตี้ (เดิมมีชื่อว่า อัลมา-อาตา) ประเทศคาซักสถาน ทั้งนี้ จากการประชุมในครั้งแรกได้นำมาซึ่ง ‘คำประกาศอัลมา – อตา’ (Alma-Ata Declaration) ว่าด้วยความจำเป็นอย่างเร่งดวนของทุกฝ่ายในการปกป้องและส่งเสริมสุขภาพของประชาชนทุกคนในโลก   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Tracking Universal Health Coverage: 2023 Global Monitoring Report Fair Share for Health and Care: Gender and […]

  • Rescuing SDG 11 for a Resilient Urban Planet

    รายงาน “Rescuing SDG 11 for a resilient urban planet” แสดงสถานะของการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป้าหมายที่ 11 เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน ว่ายังห่างไกลจากความสำเร็จและเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องจัดการ พร้อมทั้งนำเสนอวิธีการดำเนินการในอนาคต     หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN HABITAT) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: The Future of Asia & Pacific Cities 2023: Crisis Resilient Urban Futures Global Framework for the Response to Malaria in Urban Areas Session 6: Drawing the Casual Diagram for […]

  • Resilient Futures: Young People, the Climate Crisis, and Sexual and Reproductive Health and Rights

    คู่มือกระบวรกร “Resilient Futures: Young People, the Climate Crisis, and Sexual and Reproductive Health and Rights” ฉบับนี้จะช่วยให้กระบวนกรนำกิจกรรมเวิร์กช็อปสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิทธิด้านสุขภาพอนามัยทางเพศและการสืบพันธุ์แก่เยาวชนได้ง่ายขึ้น เยาวชนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับผลกระทบบางประการของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อสิทธิและสุขภาพของตนเอง ไปจนถึงสุขภาพของผู้หญิงและเด็กหญิงโดยรวม จุดมุ่งหมายคือการเสริมพลังให้เยาวชนผ่านการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับโลกใบนี้ สถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นด้านสิ่งแวดล้อม และการสร้างแนวคิดรวมถึงแรงจูงใจให้เยาวชนลงมือทำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทั้งในระดับพื้นที่และระดับโลก   หน่วยงานที่จัดทำ: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Taking Stock: Sexual and Reproductive and Health and Rights in Climate Commitments: A Global Review Summary The Role of Artificial Intelligence in Sexual and Reproductive Health and Rights […]

  • Rethinking Schooling for the 21st Century: The State of Education for Peace, Sustainable Development and Global Citizenship in Asia

    รายงาน “Rethinking Schooling for the 21st Century: The State of Education for Peace, Sustainable Development and Global Citizenship in Asia” นำเสนอการทบทวนสถานะปัจจุบันของการรวมแนวคิดของเป้าหมายย่อย SDG 4.7 ในนโยบายการศึกษาและหลักสูตรที่มีอยู่ของ 22 ประเทศในเอเชีย โดยเป็นความพยายามพัฒนาเกณฑ์เปรียบเทียบ (benchmark) ซึ่งจะทำให้สามารถประเมินความคืบหน้าในอนาคตได้     หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Economic and Social Survey of Asia and the Pacific 2023: Rethinking Public […]

  • Review on the Impacts of Climate Change on Rice Production and Cross- sectoral Transboundary Water Issues in the Lower Mekong Basin

    รายงาน “Review on the Impacts of Climate Change on Rice Production and Cross- sectoral Transboundary Water Issues in the Lower Mekong Basin” ประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตข้าวและผลกระทบที่เกิดต่อการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Basin: LMB) ซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีความสำคัญทางระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม รวมถึงเน้นย้ำความจำเป็นเร่งด่วนของความร่วมมือระดับภูมิภาคและกลยุทธ์การปรับตัวเชิงรุกเพื่อความยั่งยืนและความสามารถในการตั้งรับปรับตัวของพื้นที่และผู้คนในระยะยาว   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Gendered Impacts of Climate Change: Evidence from Asia Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update Progress on […]

  • SDG 6 Synthesis Report 2018 on Water and Sanitation – Executive Summary

    บทสรุปผู้บริหารของรายงานสถานการณ์และความคืบหน้าในประเด็นน้ำสะอาด และสุขาภิบาลของโลก ในปี 2018 หรือเป้าหมายที่ 6 สร้างหลักประกันเรื่องน้ำและการสุขาภิบาลให้มีการจัดการอย่างยั่งยืน และมีสภาพพร้อมใช้สำหรับทุกคน หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: SDG 6 Synthesis Report 2018 on Water and Sanitation – Highlights Summary and Recommendations: Regional Seminar on Integrated Approaches for SDG Planning: The Case of SDG 6 on Water and Sanitation Summary Progress Update 2021: SDG 6 […]