Sorting:
Sort Ascending
  • รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563-2564

    รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ.​ 2563-2564   หน่วยงานที่จัดทำ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2562-2563 World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2020: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2018: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

  • Guide to Sustainable Tourism. Challenges and Criteria for Evaluation in the Tourism Sector

    คู่มือ “Guide to Sustainable Tourism. Challenges and Criteria for Evaluation in the Tourism Sector” จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือใช้ประเมินการดำเนินงานของภาคการท่องเที่ยวต่อ SDGs ทั้ง 17 เป้าหมาย และให้สถานที่ท่องเที่ยวและธุรกิจการท่องเที่ยวจะสามารถตรวจสอบตนเองได้ว่าดำเนินงานสอดคล้องเป็นไปตามข้อกำหนดที่จำเป็นเพื่อให้เกิดความยั่งยืนแล้วหรือไม่     หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network (Spain) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: International Health Regulations (IHR): Joint External Evaluation (JEE): Country Implementation Guide Reflect–Share–Act: A Guide to Community-based Education for Sustainable Development GCED: Taking It […]

  • UNTAPPED: Collective Intelligence for Climate Action

    รายงาน “UNTAPPED: Collective Intelligence for Climate Action” เป็นรายงานฉบับแรกที่ศึกษาว่า “ปัญญารวมหมู่” (collective intelligence) สามารถยกระดับการรับมือกับปัญหาโลกร้อนได้อย่างไร ผ่านการระดมข้อมูลสภาพภูมิอากาศแบบเรียลไทม์ในพ้นที่อย่างละเอียด รวมถึงการมีส่วนร่วมของผู้คนจำนวนมากขึ้นและมุมมองที่หลากหลายขึ้น ให้ข้อมูลครอบคลุมพื้นที่กว่าประเทศในกลุ่มประเทศโลกใต้ (Global South) กว่า 100 ประเทศ ซึ่งรวมไปถึงประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries: LDCs) 36 ประเทศและกลุ่มรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก (Small Island Developing States: SIDS) 38 ประเทศ วิเคราะห์โดย UNDP Accelerator Labs Network   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Wage Report 2008/09: Minimum wages and collective bargaining: Towards […]

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Islamic Republic of Pakistan

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Islamic Republic of Pakistan” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของรัฐอิสลามปากีสถาน ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Islamic Republic of Afghanistan Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Iraq Joint […]

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kyrgyz Republic

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Kyrgyz Republic” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐคีร์กิซ ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Iraq Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Moldova Joint External Evaluation of […]

  • SDGs กับเกษตรกร

    เกษตรกรรมยั่งยืน คือ ระบบเกษตรที่ครอบคลุมวิถีชีวิตเกษตรกร กระบวนการผลิต และการจัดการทุกรูปแบบเพื่อให้เกิดความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ ซึ่งนำไปสู่การพึ่งตนเองและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผู้บริโภค ซึ่งการเปลี่ยนจากการทำการเกษตรเชิงเดี่ยวแบบเดิม ให้มีความหลากหลายมากขึ้น หรือการลดใช้สารเคมี จะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำการเกษตรได้ หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: การ์ตูนเพื่อการเรียนรู้ SDGs เรื่อง “โลกของเรา และ 17 เป้าหมาย” SDGs กับภาคธุรกิจ SDGs กับความหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน (SDG 15: Life on land)

  • The State of Food and Agriculture 2023

    รายงาน “The State of Food and Agriculture 2023” เสนอแนวทางประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ที่ซ่อนอยู่ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และสังคม ของระบบเกษตร-อาหาร (Agrifood System) เนื่องจากการสร้างระบบเกษตร-อาหารที่ยั่งยืนนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) หลายเป้าหมาย และเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการประเมินต้นทุนที่แท้จริงในทุกระดับ นวัตกรรมด้านการวิจัยและข้อมูล และการลงทุนในการรวบรวมข้อมูลและเสริมสร้างขีดความสามารถด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The State of Food and Agriculture 2020 The State of Food and Agriculture 2019 The State of Food and Agriculture […]

  • The State of Food Security and Nutrition in the World 2018

    Building climate resilience for food security and nutrition รายงานฉบับนี้ เผยให้เห็นความท้าทายใหม่ในการยุติความหิวโหย ความไม่มั่นคงทางอาหาร และภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบ โดยได้สำรวจสาเหตุปัจจัยของความหิวโหยและวิกฤติอาหารที่ร้ายแรงระดับโลก ซึ่งมีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม ซ้ำยังมีประเด็นปัญหาใหม่ อาทิ โรคอ้วนและภาวะน้ำหนักเกิน โดยพบว่านอกเหนือจากปัจจัยอย่างความขัดแย้งที่มีผลต่อความมั่นคงทางอาหารแล้ว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสภาพอากาศที่สุดขั้ว ยังแทรกตัวอยู่ในทุกมิติปัจจัยที่เกี่ยวข้องของความมั่นคงทางอาหาร ทั้งในด้านการทำให้มี (availability) การเข้าถึง (accessibility) การใช้ประโยชน์ (utilization) และการมีเสถียรภาพ (stability) หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food Security and Nutrition in the World 2017 The State of Food and Agriculture 2018 The Impact […]

  • Thailand & Sustainable Development Goals guided by Sufficiency Economy Philosophy (SEP) and accelerated through BCG Economic Model

    เอกสาร “Thailand & Sustainable Development Goals guided by Sufficiency Economy Philosophy (SEP) and accelerated through BCG Economic Model” นำเสนอกรอบแนวทางของประเทศไทยในการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่ขับเคลื่อนด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) และเร่งรัดความสำเร็จผ่านโมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (BCG) แยกตามรายมิติ ทั้ง 5 มิติ ได้แก่ มิติสังคม (People) มิติเศรษฐกิจ (Prosperity) มิติสิ่งแวดล้อม (Planet) มิติสันติภาพและสถาบัน (Peace) และมิติหุ้นส่วนการพัฒนา (Partnership)     หน่วยงานที่จัดทำ: กระทรวงการต่างประเทศ ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Thailand’s BCG Transformation – 40 case studies on […]

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Moldova

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Republic of Moldova” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐมอลโดวา ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Democratic Republic of Timor-Leste Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Islamic Republic of […]

  • รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2563

    รายงาน “รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2563” เป็นรายงานประจำปีที่นำเสนอและเผยแพร่ดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) พร้อมผลการวิเคราะห์และการประเมินความก้าวหน้าของคนในระดับประเทศ ภาค และจังหวัดของไทย ผ่านกรอบแนวคิดการวิเคราะห์หลายด้าน ครอบคลุมดัชนีย่อยในประเด็น ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ชีวิตการงาน เศรษฐกิจ ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม ชีวิตครอบครัวและชุมชน การคมนาคมและการสื่อสาร และการมีส่วนร่วม   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2564 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ 2563-2564 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable […]

  • Global Citizenship Education: A Policymaking Awareness and Advocacy Handbook

    คู่มือ “Global Citizenship Education: A Policymaking Awareness and Advocacy Handbook” นำเสนอแนวทางเบื้องต้นเพื่อสนับสนุนผู้กำหนดนโยบายในการบูรณาการการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship Education: GCED) เข้ากับนโยบายและระบบการศึกษาในประเทศ พร้อมตัวอย่างจากหลายประเทศในเอเชียและแปซิฟิก   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Preparing Teachers for Global Citizenship Education: A Template Rethinking Schooling for the 21st Century: The State of Education for Peace, Sustainable Development and […]

  • เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน (SDG 15: Life on land)

    ระบบนิเวศบนบกมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เช่นเดียวกับระบบนิเวศทางทะเล กว่าร้อยละ 80 ของอาหารมนุษย์มาจากพืช และมนุษย์พึ่งพาการเกษตรเป็นแหล่งทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่สำคัญ นอกจากนี้ ป่าไม้ยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยสำคัญของสิ่งมีชีวิตนับล้านชนิด รวมทั้งเป็นแหล่งกำเนิดน้ำและอากาศที่สะอาด และมีความสำคัญต่อการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่ในทุกๆ ปี เกิดการสูญเสียพื้นที่ป่ากว่า 13 ล้านเฮกเตอร์ (ประมาณ 81 ล้านไร่) ทั่วโลก และการเสื่อมโทรมของที่ดินส่งผลให้เกิดการกลายเป็นทะเลทรายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อชุมชนที่ยากจนทั่วโลก การลักลอบค้าสัตว์ป่าและพืชก่อให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ เป้าหมายที่ 15 มุ่งอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน สนับสนุนให้มีการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนและแก้ไขปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า เพื่อลดความสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งดำเนินการให้มีความมั่นคงทางอาหารและน้ำ และสร้างศักยภาพในด้านการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับชมวิดิโอได้ที่นี่ : Related posts: เป้าหมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์มหาสมุทรและทรัพยากรทะเลอย่างยั่งยืน (SDG 14: Life below water) เป้าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ (SDG 1: No Poverty) เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย […]

  • Child-responsive Urban Policies, Laws and Standards: A Guidance

    คู่มือ “Child-responsive urban policies, laws and standards: a guidance” พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนภาครัฐในการสร้างพื้นที่เขตเมืองที่เด็กสามารถเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน อากาศและน้ำสะอาดได้ รวมถึงรู้สึกปลอดภัยที่จะเล่น เรียนรู้ และเติบโต โดยรับฟังความต้องการของเด็กเข้ามาในนโยบายสาธารณะและกระบวนการตัดสินใจด้วย และชี้ให้เห็นว่านโยบายและกฎหมายมีบทบาทในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในประเด็นดังกล่าวอย่างไร     หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN HABITAT) และกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Hygiene: UN-Water GLAAS Findings on National Policies, Plans, Targets and Finance Global Wage Report 2010/11: Wage policies in times of crisis WHO Technical Guidance Notes on Sendai […]

  • Implications of the COVID-19 Pandemic for Commercial Contracts Covering the Transportation of Goods in the Asia-Pacific Region and Beyond

    รายงาน “Implications of the COVID-19 pandemic for commercial contracts covering the transportation of goods in the Asia-Pacific region and beyond”เกี่ยวกับการขนส่งและการค้าในช่วงยุคของการแพร่รระบาด Covid-19 โดยจุดประสงค์ของรายงานฉบับนี้จัดทำเพื่อช่วยเหลือรัฐบาลและผู้ให้บริการด้านขนส่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา เกี่ยวกับกฏหมายการค้าที่ต้องเผชิญในช่วง Covid-19 รวมถึงตัวรายงานยังได้สรุปข้อสำคัญเกี่ยวกับผลกระทบทางกฏหมายต่อการค้าระหว่างประเทศ   หน่วยงานที่จัดทำ : คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด : รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ที่นี่ Related posts: Agricultural Trade & Policy Responses During the First Wave of […]

  • ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

    ประเทศไทยและประเทศสมาชิกสหประชาชาติได้ร่วมลงนามรับรองวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 เพื่อสร้างโลกที่ดีขึ้นกว่าเดิมและคุณภาพชีวิตของทุกคนในโลกให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น บรรลุการพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง โดยวาระการพัฒนาดังกล่าว ประกอบด้วย 17 เป้าหมายหลัก 169 เป้าหมายย่อย ซึ่งเชื่อมโยงเกื้อหนุนกัน และกำหนดให้มีตัวชี้วัดเพื่อประเมินความก้าวหน้าของการพัฒนา โดย SDGs ทั้ง 17 เป้าหมายหลัก สามารถจัดกลุ่มตามปัจจัยที่เชื่อมโยงกันใน 5 มิติ คือ มิติการพัฒนาคน มิติสิ่งแวดล้อม มิติเศรษฐกิจและความมั่งคั่ง มิติสันติภาพและความยุติธรรม และมิติความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รับชมวิดิโอได้ที่นี่ :   Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs) World Health Statistics 2020: Monitoring […]

  • รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2562-2563

    รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ.​ 2562-2563   หน่วยงานที่จัดทำ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Municipal Atlas of the SDGs in Bolivia 2020 2018 U.S. Cities SDGs Index Health in 2015: from MDGs to SDGs Infodemic and SDGs: Internet Freedoms in Southeast Asia

  • From Commitment to Action: Integrating Sustainable Development into National Education Priorities: A Practical Guide for Policymakers, Practitioners, and Researchers.

    ชุดเครื่องมือออนไลน์ (Online Toolkit) “From Commitment to Action: Integrating Sustainable Development into National Education Priorities: A Practical Guide for Policymakers, Practitioners, and Researchers.” สำหรับการบูรณาการการพัฒนาที่ยั่งยืนกับการศึกษาในระดับชาติ จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้กําหนดนโยบายและนักวิจัย ใช้เป็นแนวทางในการสร้างหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนรวมถึงการบูรณาการหลักสูตรนี้เข้ากับประเด็นสําคัญระดับชาติ     หน่วยงานที่จัดทำ: The Global Schools Program (GSP) และ Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Integrating Education for Sustainable Development (ESD) in Teacher Education in South-East Asia Practical […]

  • Women in Action

    หนังสือภาพ “Women in Action” รวบรวมเรื่องราวสร้างแรงบันดาลใจของผู้หญิงและเด็กหญิงชาวอินเดียห้าคนที่เข้าร่วมโครงการเสริมพลังให้แก่ผู้หญิง Women’s Access to Education and Livelihood Opportunities in Maharashtra โดยเขียนจากมุมมองของเธอเอง เล่าถึงการต่อสู้ อุปสรรคจากความด้อยโอกาสอันมาจากการอยู่ในครอบครัวที่ได้รับผลกระทบ ติดเชื้อ และเปราะบางต่อการติดเชื้อ HIV หรือเอดส์ ไม่ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการ ไม่มีทักษะการจ้างงาน และไม่ได้รับโอกาสในการเป็นผู้ประกอบการ จนถึงวันที่ประสบความสำเร็จ มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองทางการเงินได้     หน่วยงานที่จัดทำ: UN Women ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ (The Big Conversation: Handbook to Address Violence against Women in and through the Media) COVID-19 Recovery […]

  • คู่มือพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน

    “คู่มือพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน” (Community-Based Tourism Social Innovation Playbook) รวบรวมเครื่องมือนวัตกรรมทางสังคมที่เป็นประโยชน์เพื่อช่วยให้ การท่องเที่ยวโดยชุมชนมีความยั่งยืนและรับมือกับความผันผวนของโลกได้มากขึ้น     หน่วยงานที่จัดทำ: UNDP Accelerator Lab ประเทศไทย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: International Health Regulations (2005): State Party Self-assessment Annual Report Tool คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ (The Big Conversation: Handbook to Address Violence against Women in and through the Media) บทบาทของรัฐสภาในการนำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปปฏิบัติ