Sorting:
Sort Descending
  • The State of Food and Agriculture 2023

    รายงาน “The State of Food and Agriculture 2023” เสนอแนวทางประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ที่ซ่อนอยู่ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และสังคม ของระบบเกษตร-อาหาร (Agrifood System) เนื่องจากการสร้างระบบเกษตร-อาหารที่ยั่งยืนนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) หลายเป้าหมาย และเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการประเมินต้นทุนที่แท้จริงในทุกระดับ นวัตกรรมด้านการวิจัยและข้อมูล และการลงทุนในการรวบรวมข้อมูลและเสริมสร้างขีดความสามารถด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The State of Food and Agriculture 2020 The State of Food and Agriculture 2019 The State of Food and Agriculture […]

  • World Health Statistics 2018: Monitoring Health for the Sustainable Development Goals (SDGs)

    รายงาน “World health statistics 2018: monitoring health for the SDGs, sustainable development goals” เน้นประเด็นด้านสุขภาพ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสุขภาพ เป้าประสงค์หรือเป้าหมายย่อยที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นการรวบรวมข้อมูลดัชนีของ SDGs ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสุขภาพ (health-related SDG indicators) ทั้งนี้ รายงานดังกล่าวยังเชื่อมโยงกับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ 3 อันดับต้นของแผนงาน 13th General Programme of Work 2019-2023 ขององค์การอนามัยโลก   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the Sustainable Development […]

  • World Happiness Report 2020

    รายงานความสุขโลกประจำปี 2020 จัดอันดับ 156 ประเทศตามระดับความสุขของประชาชนในประเทศ และเป็นฉบับแรกที่มีการจัดอันดับเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกตามความเป็นอยู่ที่ดี และเจาะลึกว่ามิติด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม พื้นที่เมือง และธรรมชาติ รวมกันนั้นส่งผลต่อความสุขของเราอย่างไร หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Happiness Report 2017 World Happiness Report 2018 World Happiness Report 2019 World Social Protection Report 2020-22

  • ASEAN SDG Baseline

    รายงาน ASEAN SDG baseline เป็นรายงานเรื่องเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) ของอนุภูมิภาคอาเซียน ซึ่งวิเคราะห์ตั้งแต่เป้าหมาย ข้อ1 ถึง ข้อ16 โดยใช้ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคเป็นค่ามาตราฐานในการเปรียบเทียบ มากไปกว่านี้ รายงานฉบับนี้ยังนำเสนอถึงความคืบหน้าโครงการภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละเป้าหมาย โดยใช้การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap analysis) ทั้งนี้จุดประสงค์ของรายฉบับนี้มีเพื่อช่วยให้ผู้กำหนดนโยบายมีข้อมูลในการปรึกษาหารือองค์ประชุมเพื่อกำหนดนโยบายที่เหมาะสมเพื่อบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนภายในปี ค.ศ.2030     หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: ASEAN SDG Indicators Baseline Report 2020 Regional Energy Trends Report 2020: Tracking SDG 7 in the ASEAN Region […]

  • 2019 SDG Index for Latin America and the Caribbean

    รายงาน “2019 SDG Index for Latin America and the Caribbean” นำเสนอเครื่องมือแรกที่ใช้ในการติดตามโดยเปรียบเทียบพัฒนาการการบรรลุเป่าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ระหว่างประเทศแถบลาตินอเมริกาและ แคริบเบียน   หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the United States of America 2019 Arab Region SDG Index and Dashboards Report 2019 Africa SDG Index and Dashboards Report Sustainable Development Report 2019 – […]

  • Global Wage Report 2010/11: Wage policies in times of crisis

    รายงานฉบับนี้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแสดงสถานการณ์และแนวโน้มของค่าจ้างแรงงานในระดับโลก และภูมิภาค โดยฉบับ 2010/11 นอกจากจะช่วยแสดงแนวโน้มของค่าแรงโดยภาพรวม ยังมุ่งเน้นไปที่สถานการณ์ภายหลังการเกิดวิกฤตทางการเงินในช่วงปี 2008 – 2009 และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Wage Report 2016/17: Wage inequality in the workplace Proposals for Crisis-response Provisions in Regional and Bilateral Transport Agreements of the ESCAP Member States Hygiene: UN-Water GLAAS Findings on National Policies, Plans, Targets and Finance Global […]

  • Global Commons Stewardship Index 2024

    รายงาน “Global Commons Stewardship Index 2024” จัดทำขึ้นเป็นฉบับที่ 4 รวบรวมข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายในประเทศและผลกระทบล้นไหล​ (spillover) ข้ามพรมแดนของแต่ละประเทศ โดยได้นำเสนอข้อมูล สถิติ และแนวทางนโยบายในการลดผลกระทบที่จะมีต่อทรัพย์สินร่วมของโลก เพื่อให้ผู้กำหนดนโยบายให้ความสำคัญกับการปกป้องระบบนิเวศของโลกมากยิ่งขึ้น     หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network, Yale Center for Environmental Law & Policy, และ Center for Global Commons มหาวิทยาลัยโตเกียว ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Global Commons Stewardship (GCS) Index 2022 Global Commons Stewardship (GCS) Index 2021 Food Waste Index […]

  • บันทึกงานเสวนาหัวข้อ จาก ESG สู่ SDGs ทำไมจึงสำคัญ

    วิดีโอบันทึก “การเสวนาหัวข้อ จาก ESG สู่ SDGs ทำไมจึงสำคัญ” เป็นช่วงหนึ่งของงานสัมมนา “From ESG to SDGs : Integrating SDGs Impact Measurement and Management Framework in Business and Investment Strategies” ซึ่งจัดโดยสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย (GCNT) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาตลาดทุนไทยสู่ความยั่งยืน สนับสนุนภาคเอกชนดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รับชมวิดีโอได้ที่นี่:   Related posts: ความรู้เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action) […]

  • Global Resources Outlook 2024

    รายงาน “Global Resources Outlook 2024” นำเสนอสถานการณ์การใช้ทรัพยากรของโลก โดยพบว่าการดึงทรัพยากรธรรมชาติออกมาใช้เพิ่มขึ้นถึง 3 เท่าในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก 60% ภายในปี 2060 หากเราไม่เปลี่ยนแปลงแนวทางการใช้ทรัพยากร การดำเนินการที่ไม่ยั่งยืนเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาความหลากหลายทางชีวภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment. Programme: UNEP) และ International Resource Panel (IRP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Employment and Social Outlook: Trends 2024 Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress […]

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kyrgyz Republic

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Kyrgyz Republic” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของสาธารณรัฐคีร์กิซ ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Iraq Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Republic of Moldova Joint External Evaluation of […]

  • Global Framework for the Response to Malaria in Urban Areas

    รายงาน “Global framework for the response to malaria in urban areas” นำเสนอกรอบการทำงานในการสนับสนุนการควบคุมและกำจัดโรคติดต่อมาลาเลีย (รวมถึงโรคอื่น ๆ ที่มีแมลงเป็นพาหะ) ในสภาพแวดล้อมเขตเมืองที่จะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่บริหารพื้นที่เขตเมือง โครงการด้านสุขภาพ และนักออกแบบผังเมือง ให้ตอบสนองต่อปัญหานี้ได้อย่างรวดเร็วทันต่อการขยายตัวของเมืองและประชากรที่เพิ่มขึ้น มีประสิทธิภาพ และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามบริบทของเมืองแต่ละที่    หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN HABITAT) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่     Related posts: Proposals for Crisis-response Provisions in Regional and Bilateral Transport Agreements of the ESCAP Member States Small Island Developing States Response to COVID-19 Strategy Paper on […]

  • The State of Food and Agriculture 2019

    Moving forward on food loss and waste reduction รายงานสถานการณ์อาหารและเกษตรกรรมปี 2562 เน้นประเด็นขยะอาหาร (food waste) และการสูญเสียอาหารในกระบวนการผลิตและหลังการเก็บเกี่ยว (food loss) โดยเป็นการประเมินที่ยังไม่นับรวมการสูญเสียในระดับการค้าปลีก ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้กำหนดนโยบายมีข้อมูลบทวิเคราะห์การสูญเสียอาหารในระบบห่วงโซ่อุปทานที่รอบด้าน และมีตัวอย่างมาตรการที่จะนำไปสู่การลดขยะอาหารและการสูญเสียอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The State of Food and Agriculture 2018 The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021 Global Report on Food Crises 2019 Global Report on […]

  • Sustainable Development Goals Report 2021

    รายงานเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs Report) ประจำปี 2021 นำเสนอผลกระทบจากกว่าหนึ่งปีของการระบาดใหญ่ที่สำคัญในหลายประเด็นการพัฒนา ทั้งอัตราความยากจนขั้นรุนแรงทั่วโลกที่เพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 20 ปี วิกฤตครั้งนี้คุกคามความก้าวหน้าของการพัฒนาที่ดำเนินการมาหลายทศวรรษ สร้างความถดถอยต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และยิ่งแสดงถึงการเพิ่มความจำเป็นต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นอย่างเร่งด่วนขึ้นและครอบคลุมมากขึ้น   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การสหประชาชาติ (United Nations) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being for All World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the […]

  • Strengthening National Indicator Frameworks to Drive National SDG Implementation: Moving Forward

    เอกสาร ‘Strengthening National Indicator Frameworks to Drive National SDG Implementation: Moving Forward’ นำเสนอในการประชุมภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หัวข้อ : การดำเนินการร่วมกันเพื่อเร่งการเปลี่ยนแปลงสถิติทางการสำหรับวาระ 2030 ที่ กรุงเทพฯ 27-28 มีนาคม 2560   หน่วยงานที่จัดทำ : คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Key Elements of An Effective National Indicator Framework to Drive National SDG Implementation Overview of National […]

  • Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kingdom of Belgium

    รายงาน “Joint external evaluation of IHR core capacities of the Kingdom of Belgium” เป็นหนึ่งในกระบวนการติดตามและประเมินผลขีดความสามารถของราชอาณาจักรเบลเยียม ให้เป็นไปตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations: IHR) ซึ่งเป็นกรอบการดำเนินงานที่มุ่งรักษาความมั่นคงด้านสุขภาพระดับโลกผ่านความร่วมมือระดับนานาชาติในการขับเคลื่อนด้านสาธารณสุข หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kingdom of Lesotho Joint External Evaluation of IHR Core Capacities of the Kingdom of Cambodia Joint External Evaluation […]

  • World Social Protection Report 2020-22

    Social protection at the crossroads – in pursuit of a better future รายงานการคุ้มครองทางสังคมของโลก 2563 – 2565 รวบรวมข้อมูลระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับโลกล่าสุด รวมถึงแนวโน้มระบบการคุ้มครองทางสังคม การคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน (social protection floors) และการใช้จ่ายของงบประมาณภาครัฐ  อาทิ นโยบายที่เกี่ยวกับวัยแรงงานผู้หญิงและผู้ชาย การให้กำเนิดบุตร การจ้างงานผู้พิการและผู้ที่เจ็บป่วย การว่างงาน ผู้สูงอายุและเงินบำนาญ รวมถึงหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และที่สำคัญคือผลกระทบของโควิด-19 ที่มีต่อมาตรการคุ้มครองทางสังคม รายงานฉบับนี้เป็นแหล่งข้อมูลเชิงสถิติสำหรับตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.3.1 หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Social Protection Report 2017-19 World Health Statistics 2020: Monitoring Health for […]

  • Global Wage Report 2020-21: Wages and minimum wages in the time of COVID-19

    รายงานฉบับนี้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแสดงสถานการณ์และแนวโน้มของค่าจ้างแรงงานในระดับโลก และภูมิภาค โดยฉบับ 2020/21 นอกจากจะช่วยแสดงแนวโน้มของค่าแรงโดยภาพรวม ยังมุ่งเน้นไปที่การกำหนดค่าจ้างแรงงานขึ้นต่ำ ผลกระทบจากโควิด – 19 และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Global Wage Report 2008/09: Minimum wages and collective bargaining: Towards policy coherence Global Wage Report 2012/13: Wages and Equitable Growth Global Wage Report 2014 / 15 Wages and income inequality Global Wage Report 2010/11: Wage policies […]

  • World Happiness Report 2024

    รายงาน “World Happiness Report ประจำปี 2024” จัดอันดับประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก โดยจะประเมินความสุขตามเกณฑ์ต่าง ๆ อาทิ การสนับสนุนทางสังคม รายได้ ชีวิตที่มีสุขภาพที่ดี และการทุจริต เป็นต้น โดยฉบับนี้กล่าวถึงความสุขของคนแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงสูงอายุ     หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Happiness Report 2019 World Happiness Report 2020 World Happiness Report 2021 World Happiness Report 2023

  • Human Development Report 2023-24

    รายงานการพัฒนามนุษย์ “Human Development Report 2023-24 | Breaking the gridlock: Reimagining Cooperation in a Polarized World” นำเสนอดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดโดยรวมที่สะท้อนถึงรายได้ประชาชาติสุทธิต่อประชากร (Gross National Income: GNI) ต่อหัว การศึกษา และอายุขัยของประชากรในประเทศนั้น ๆ โดยรายงานของปีนี้เป็นการประเมินภาวะหยุดชะงักอันตรายที่เกิดจากความก้าวหน้าในการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกัน ความเหลื่อมล้ำที่ทวีความรุนแรง และความแตกแยกทางการเมืองที่รุนแรงมากขึ้น พร้อมกับเสนอแนวทางไปข้างหน้าโดยให้การทำงานแบบพหุภาคี (multilateralism) มีบทบาทสำคัญ   หน่วยงานที่จัดทำ: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Leveraging Human Mobility to Rescue the 2030 Agenda Social Protection in the Digital […]

  • Skills for a Green Transition: Solutions for Youth on the Move

    เอกสาร “Skills for a Green Transition: Solutions for Youth on the Move” ให้ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติสำหรับผู้กำหนดนโยบาย นักพัฒนา เพื่อสนับสนุนเยาวชนในการเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาทักษะสีเขียว (Green Skills) หรือทักษะความรู้ที่จำเป็นในการสร้างสังคมที่ยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม โดยเน้นย้ำความครอบคลุมไปถึงกลุ่มเยาวชนที่ย้ายถิ่นฐาน ผู้ลี้ภัย และเยาวชนที่ถูกบังคับให้พลัดถิ่นฐานในการมีส่วนร่วมหารือและความพยายามที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ด้วย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ยูนิเซฟ และธนาคารโลก (World Bank) ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: ข้อคิดเห็นของเยาวชนและนายจ้างเกี่ยวกับโอกาสในการมีงานทำของเยาวชนไทย (Voices of youth and employers on youth employability in Thailand) Energy Transition Pathways for the 2030 Agenda SDG 7 Roadmap […]